ความคืบหน้าโครงการ/กิจกรรม

Back Home
FusionCharts will render here

โครงการการตรวจเฝ้าระวังความปลอดภัย ในเนื้อสัตว์ในสถานประกอบการ : 08000000-7083

สำนักอนามัย : (2566)

100

ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100

สำนักงานสัตวแพทย์สาธารณสุข

ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1 100

หลักการและเหตุผล

เนื้อสัตว์ปลอดภัยหมายถึง เนื้อสัตว์ที่มีสุขอนามัยที่ดี ไม่พบวิการหรือรอยโรคที่ไม่เหมาะสมต่อการบริโภค เช่น ฝี หนอง เป็นต้น ปลอดภัยจากสารเคมี รวมทั้งปลอดภัยจากเชื้อจุลินทรีย์ โดยต้องมีจำนวนจุลินทรีย์ต่ำกว่าระดับที่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภคตามมาตรฐานกำหนด โดยเฉพาะอย่างยิ่งจุลินทรีย์ที่ก่อให้เกิดโรคอาหารเป็นพิษ เช่น เชื้อ Staphylococcus aureus และเชื้อ Salmonella sp. เป็นต้น การบริโภคเนื้อสัตว์ที่ไม่ปลอดภัยจะทำให้เกิดอันตรายและความเจ็บป่วยต่อผู้บริโภค จากรายงานข้อมูลผู้ป่วยโรคอาหารเป็นพิษของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ในปี ๒๕๖๒ พบผู้ป่วย ๑๑๐,๗๓๖ ราย เสียชีวิต ๑ ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๑๖๖.๗๔ ต่อแสนประชากร ในปี ๒๕๖๓ พบผู้ป่วย ๘๙,๔๗๕ ราย เสียชีวิต ๑ ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๑๓๔.๗๒ ต่อแสนประชากร ในปี ๒๕๖๔ พบผู้ป่วย ๕๒,๘๓๔ ราย เสียชีวิต ๑ ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๗๙.๕๕ ต่อแสนประชากร ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ปี ๒๕๖๔ (ตั้งแต่ วันที่ ๑ มกราคม ถึง ๓๑ กรกฏาคม ๒๕๖๔) พบผู้ป่วยทั้งหมด ๑,๘๘๒ ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๓๓.๒ ต่อประชากรแสนคน และไม่มีผู้เสียชีวิต อัตราป่วยโรคอาหารเป็นพิษในกรุงเทพมหานครมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในช่วงปี ๒๕๕๘-๒๕๖๑ โดยพบ อัตราการป่วยต่อแสนประชากรเท่ากับ ๖๘.๒ ๘๗.๘ ๙๑.๑ และ ๑๐๐.๖ ตามลำดับ จากนั้นจึงลดลงในช่วงปี ๒๕๖๒-๒๕๖๔ ซึ่งมีแนวโน้มเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับภาพรวมประเทศ เพื่อความปลอดภัยในการบริโภคเนื้อสัตว์ของประชาชน และตอบสนองต่อแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี ระยะที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๖-๒๕๘๐) ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การสร้างเมืองปลอดภัยและหยุ่นตัวต่อวิกฤตการณ์ เป้าประสงค์ที่ ๑.๕.๑๑ ประชาชนบริโภคอาหารที่มีความปลอดภัยจากเชื้อโรค กลยุทธ์ที่ ๑.๕.๑๑.๓ การตรวจเฝ้าระวังความปลอดภัยในเนื้อสัตว์ สำนักอนามัยโดยสำนักงานสัตวแพทย์สาธารณุข จึงดำเนินการเฝ้าระวังความปลอดภัยในเนื้อสัตว์ในสถานประกอบกิจการฆ่าสัตว์และสถานประกอบการจำหน่ายเนื้อสัตว์ รวมทั้งการให้คำแนะนำปรับปรุงแก้ไขแก่สถานประกอบการ เพื่อให้เนื้อสัตว์มีความปลอดภัยต่อประชาชนและมีความเหมาะสมต่อการบริโภค

08060000/08060000

วัตถุประสงค์ของโครงการ

๑. เพื่อให้เนื้อสัตว์ในสถานประกอบกิจการฆ่าสัตว์และสถานประกอบการจำหน่ายเนื้อสัตว์มีความปลอดภัยเหมาะสมต่อการบริโภค ๒. เพื่อให้ผู้ประกอบการในสถานประกอบกิจการฆ่าสัตว์และสถานประกอบการจำหน่ายเนื้อสัตว์มีความรู้ความเข้าใจเรื่องเนื้อสัตว์ปลอดภัย

เป้าหมายของโครงการ

๑. ตรวจเฝ้าระวังสุขอนามัยและวิการในเนื้อสัตว์ในสถานประกอบการกิจการฆ่าสัตว์และสถานประกอบการจำหน่ายเนื้อสัตว์อย่างน้อยปีละ ๒ ครั้ง/แห่ง ๒. ตรวจเฝ้าระวังการปนเปื้อนเชื้อโรคอาหารเป็นพิษในเนื้อสัตว์ในสถานประกอบการกิจการฆ่าสัตว์และสถานประกอบการจำหน่ายเนื้อสัตว์ทางห้องปฏิบัติการ

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

ผลการดำเนินงาน

(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-09-12)

100.00

12/09/2566 : อยู่ระหว่างดำเนินงาน 1. กิจกรรมสุ่มตรวจสุขอนามัยและวิการที่ไม่เหมาะสมต่อการบริโภคในเนื้อสัตว์ในสถานประกอบการ ผลการดำเนินงานที่ได้รับการสุ่งตรวจฯ เดือนสิงหาคม 2566 ครั้งที่ 1 จำนวน 0 แ่ห่ง ครั้งที่ 2 จำนวน 86 แห่ง ผลการดำเนินงานตามกิจกรรม ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 - สิงหาคม 2566 ผลการดำเนินการสุ่มตรวจสุขอนามัยและวิการที่ไม่เหมาะสมต่อการบริโภคในเนื้อสัตว์ในสถานประกอบการจากสถานประกอบการทั้งสิ้น จำนวน 749 แห่ง สถานประกอบการที่ได้รับการสุ่มตรวจฯ ครั้งที่ 1 จำนวน 749 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 ครั้งที่ 2 จำนวน 747 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 99.73 2. กิจกรรมการสุ่มตรวจเชื้อโรคอาหารเป็นพิษจากตัวอย่างเนื้อสัตว์ทางห้องปฏิบัติการ ผลการดำเนินงานตามกิจกรรม ดำเนินการตรวจวิเคราะห์เชื้อ Salmonella spp. และเชื้อ Staphylococcus aureus ในเนื้อสัตว์ทางห้องปฏิบัติการ ประจำเดือน สิงหาคม 2566 รวมทั้งสิ้น 262 ตัวอย่าง ผ่่านเกณฑ์การตรวจ 232 ตัวอย่าง ไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจ 30 ตัวอย่าง ผลการดำเนินงานสะสมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 รวมทั้งสิ้น 2,860 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์การตรวจ 2,550 ตัวอย่าง ไม่ผ่านเกณฑ์ 310 ตัวอย่าง ตัวอย่างเนื้อสัตว์ที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบเชื้อโรคอาหารเป็นพิษคิดเป็นร้อยละ 89.16 3. กิจกรรมการให้คำแนะนำปรับปรุงแก้ไขแก่สถานประกอบการให้ผ่านมาตรฐานเกณฑ์การตรวจเนื้อสัตว์ทางห้องปฏิบัติการ ผลการดำเนินงานตามกิจกรรม ดำเนินการให้คำแนะนำปรับปรุงแก้ไขแก่สถานประกอบการที่ไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจเนื้อสัตว์ทางห้องปฏิบัติการ ประจำเดือนสิงหาคม 2566 จำนวน 9 แห่ง ผ่านเกณฑ์ จำนวน 5 แห่ง ผลการดำเนินงานสะสมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 ให้คำแนะนำปรับปรุงแก้ไขสถานประกอบการที่ไม่ผ่านเกณฑฺ์การตรวจ ทั้งสิ้น 151 แห่ง จนผ่านเกณฑ์การตรวจ 100 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 66.23.. ผลการดำเนินการเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด.//

** ปัญหาของโครงการ :- ไม่มี...//

** อุปสรรคของโครงการ :- ไม่มี...//

------------------&&&--------------------

(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 65.00 (2023-08-11)

65.00

11/08/2566 : 1. กิจกรรมสุ่มตรวจสุขอนามัยและวิการที่ไม่เหมาะสมต่อการบริโภคในเนื้อสัตว์ในสถานประกอบการ ผลการดำเนินงานที่ได้รับการสุ่งตรวจฯ เดือนกรกฎาคม 2566 ครั้งที่ 1 จำนวน 50 แ่ห่ง ครั้งที่ 2 จำนวน 44 แห่ง ผลการดำเนินงานตามกิจกรรม ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 - กรกฎาคม 2566 ผลการดำเนินการสุ่มตรวจสุขอนามัยและวิการที่ไม่เหมาะสมต่อการบริโภคในเนื้อสัตว์ในสถานประกอบการจากสถานประกอบการทั้งสิ้น จำนวน 779 แห่ง สถานประกอบการที่ได้รับการสุ่มตรวจฯ ครั้งที่ 1 จำนวน 749 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 ครั้งที่ 2 จำนวน 688 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 91.86 2. กิจกรรมการสุ่มตรวจเชื้อโรคอาหารเป็นพิษจากตัวอย่างเนื้อสัตว์ทางห้องปฏิบัติการ ผลการดำเนินงานตามกิจกรรม ดำเนินการตรวจวิเคราะห์เชื้อ Salmonella spp. และเชื้อ Staphylococcus aureus ในเนื้อสัตว์ทางห้องปฏิบัติการ ประจำเดือน กรกฎาคม 2566 รวมทั้งสิ้น 237 ตัวอย่าง ผ่่านเกณฑ์การตรวจ 224ตัวอย่าง ไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจ 13 ตัวอย่าง ผลการดำเนินงานสะสมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 รวมทั้งสิ้น 2,598 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์การตรวจ 2,318 ตัวอย่าง ไม่ผ่านเกณฑ์ 280 ตัวอย่าง ตัวอย่างเนื้อสัตว์ที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบเชื้อโรคอาหารเป็นพิษคิดเป็นร้อยละ 89.22 3. กิจกรรมการให้คำแนะนำปรับปรุงแก้ไขแก่สถานประกอบการให้ผ่านมาตรฐานเกณฑ์การตรวจเนื้อสัตว์ทางห้องปฏิบัติการ ผลการดำเนินงานตามกิจกรรม ดำเนินการให้คำแนะนำปรับปรุงแก้ไขแก่สถานประกอบการที่ไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจเนื้อสัตว์ทางห้องปฏิบัติการ ประจำเดือนกรกฎาคม 2566 จำนวน 15 แห่ง ผ่านเกณฑ จำนวน 11 แห่ง ผลการดำเนินงานสะสมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 ให้คำแนะนำปรับปรุงแก้ไขสถานประกอบการที่ไม่ผ่านเกณฑฺ์การตรวจ ทั้งสิ้น 142 แห่ง จนผ่านเกณฑ์การตรวจ 95 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 66.93...//

** ปัญหาของโครงการ :- ไม่มี...//

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2023-07-12)

60.00

12/07/2566 : อยู่ระหว่างดำเนินการ 1. กิจกรรมสุ่มตรวจสุขอนามัยและวิการที่ไม่เหมาะสมต่อการบริโภคในเนื้อสัตว์ในสถานประกอบการ ผลการดำเนินงานที่ได้รับการสุ่งตรวจฯ เดือนมิถุนายน 2566 ครั้งที่ 1 จำนวน 16 แ่ห่ง ครั้งที่ 2 จำนวน 63 แห่ง ผลการดำเนินงานตามกิจกรรม ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 - มิถุนายน 2566 ผลการดำเนินการสุ่มตรวจสุขอนามัยและวิการที่ไม่เหมาะสมต่อการบริโภคในเนื้อสัตว์ในสถานประกอบการจากสถานประกอบการทั้งสิ้น จำนวน 779 แห่ง สถานประกอบการที่ได้รับการสุ่มตรวจฯ ครั้งที่ 1 จำนวน 699 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 93.32 ครั้งที่ 2 จำนวน 624 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 83.31 2. กิจกรรมการสุ่มตรวจเชื้อโรคอาหารเป็นพิษจากตัวอย่างเนื้อสัตว์ทางห้องปฏิบัติการ ผลการดำเนินงานตามกิจกรรม ดำเนินการตรวจวิเคราะห์เชื้อ Salmonella spp. และเชื้อ Staphylococcus aureus ในเนื้อสัตว์ทางห้องปฏิบัติการ ประจำเดือน มิถุนายน 2566 รวมทั้งสิ้น 232 ตัวอย่าง ผ่่านเกณฑ์การตรวจ 199 ตัวอย่าง ไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจ 33 ตัวอย่าง ผลการดำเนินงานสะสมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 รวมทั้งสิ้น 2,329 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์การตรวจ 2,063 ตัวอย่าง ไม่ผ่านเกณฑ์ 266 ตัวอย่าง ตัวอย่างเนื้อสัตว์ที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบเชื้อโรคอาหารเป็นพิษคิดเป็นร้อยละ 88.58 3. กิจกรรมการให้คำแนะนำปรับปรุงแก้ไขแก่สถานประกอบการให้ผ่านมาตรฐานเกณฑ์การตรวจเนื้อสัตว์ทางห้องปฏิบัติการ ผลการดำเนินงานตามกิจกรรม ดำเนินการให้คำแนะนำปรับปรุงแก้ไขแก่สถานประกอบการที่ไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจเนื้อสัตว์ทางห้องปฏิบัติการ ประจำเดือนมิถุนายน 2566 จำนวน 12 แห่ง ผ่านเกณฑ จำนวน 10 แห่ง ผลการดำเนินงานสะสมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 ให้คำแนะนำปรับปรุงแก้ไขสถานประกอบการที่ไม่ผ่านเกณฑฺ์การตรวจ ทั้งสิ้น 127 แห่ง จนผ่านเกณฑ์การตรวจ 84 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 66.14...//

** ปัญหาของโครงการ :- ไม่มี...//

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 55.00 (2023-06-15)

55.00

15/06/2566 : อยู่ระหว่างดำเนินการ 1. กิจกรรมสุ่มตรวจสุขอนามัยและวิการที่ไม่เหมาะสมต่อการบริโภคในเนื้อสัตว์ในสถานประกอบการ ผลการดำเนินงานที่ได้รับการสุ่งตรวจฯ เดือนพฤษภาคม 2566 ครั้งที่ 1 จำนวน 0 แ่ห่ง ครั้งที่ 2 จำนวน 89 แห่ง ผลการดำเนินงานตามกิจกรรม ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 - พฤษภาคม 2566 ผลการดำเนินการสุ่มตรวจสุขอนามัยและวิการที่ไม่เหมาะสมต่อการบริโภคในเนื้อสัตว์ในสถานประกอบการจากสถานประกอบการทั้งสิ้น จำนวน 749 แห่ง สถานประกอบการที่ได้รับการสุ่มตรวจฯ ครั้งที่ 1 จำนวน 674 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 86.52 ครั้งที่ 2 จำนวน 643 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 85.85 2. กิจกรรมการสุ่มตรวจเชื้อโรคอาหารเป็นพิษจากตัวอย่างเนื้อสัตว์ทางห้องปฏิบัติการ ผลการดำเนินงานตามกิจกรรม ดำเนินการตรวจวิเคราะห์เชื้อ Salmonella spp. และเชื้อ Staphylococcus aureus ในเนื้อสัตว์ทางห้องปฏิบัติการ ประจำเดือน พฤษภาคม 2566 รวมทั้งสิ้น 257 ตัวอย่าง ผ่่านเกณฑ์การตรวจ 226 ตัวอย่าง ไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจ 31 ตัวอย่าง ผลการดำเนินงานสะสมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 รวมทั้งสิ้น 2,097 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์การตรวจ 1,864 ตัวอย่าง ไม่ผ่านเกณฑ์ 233 ตัวอย่าง ตัวอย่างเนื้อสัตว์ที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบเชื้อโรคอาหารเป็นพิษคิดเป็นร้อยละ 88.89 3. กิจกรรมการให้คำแนะนำปรับปรุงแก้ไขแก่สถานประกอบการให้ผ่านมาตรฐานเกณฑ์การตรวจเนื้อสัตว์ทางห้องปฏิบัติการ ผลการดำเนินงานตามกิจกรรม ดำเนินการให้คำแนะนำปรับปรุงแก้ไขแก่สถานประกอบการที่ไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจเนื้อสัตว์ทางห้องปฏิบัติการ ประจำเดือนพฤษภาคม 2566 จำนวน 13 แห่ง ผ่านเกณฑ จำนวน 8 แห่ง ผลการดำเนินงานสะสมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 ให้คำแนะนำปรับปรุงแก้ไขสถานประกอบการที่ไม่ผ่านเกณฑฺ์การตรวจ ทั้งสิ้น 115 แห่ง จนผ่านเกณฑ์การตรวจ 74 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 64.35...//

** ปัญหาของโครงการ :- ไม่มี...||

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2023-05-15)

50.00

15/05/2566 : อยู่ระหว่างดำเนินการ 1. กิจกรรมสุ่มตรวจสุขอนามัยและวิการที่ไม่เหมาะสมต่อการบริโภคในเนื้อสัตว์ในสถานประกอบการ ผลการดำเนินงานที่ได้รับการสุ่งตรวจฯ เดือนเมษายน 2566 ครั้งที่ 1 จำนวน 2 แ่ห่ง ครั้งที่ 2 จำนวน 55 แห่ง ผลการดำเนินงานตามกิจกรรม ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 - เมษายน 2566 ผลการดำเนินการสุ่มตรวจสุขอนามัยและวิการที่ไม่เหมาะสมต่อการบริโภคในเนื้อสัตว์ในสถานประกอบการจากสถานประกอบการทั้งสิ้น จำนวน 779 แห่ง สถานประกอบการที่ได้รับการสุ่มตรวจฯ ครั้งที่ 1 จำนวน 674 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 86.52 ครั้งที่ 2 จำนวน 573 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 73.56 2. กิจกรรมการสุ่มตรวจเชื้อโรคอาหารเป็นพิษจากตัวอย่างเนื้อสัตว์ทางห้องปฏิบัติการ ผลการดำเนินงานตามกิจกรรม ดำเนินการตรวจวิเคราะห์เชื้อ Salmonella spp. และเชื้อ Staphylococcus aureus ในเนื้อสัตว์ทางห้องปฏิบัติการ ประจำเดือน เมษายน 2566 รวมทั้งสิ้น 118 ตัวอย่าง ผ่่านเกณฑ์การตรวจ 106 ตัวอย่าง ไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจ 12 ตัวอย่าง ผลการดำเนินงานสะสมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 รวมทั้งสิ้น 1,840 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์การตรวจ 1,638 ตัวอย่าง ไม่ผ่านเกณฑ์ 202 ตัวอย่าง ตัวอย่างเนื้อสัตว์ที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบเชื้อโรคอาหารเป็นพิษคิดเป็นร้อยละ 89.02 3. กิจกรรมการให้คำแนะนำปรับปรุงแก้ไขแก่สถานประกอบการให้ผ่านมาตรฐานเกณฑ์การตรวจเนื้อสัตว์ทางห้องปฏิบัติการ ผลการดำเนินงานตามกิจกรรม ดำเนินการให้คำแนะนำปรับปรุงแก้ไขแก่สถานประกอบการที่ไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจเนื้อสัตว์ทางห้องปฏิบัติการ ประจำเดือนเมษายน 2566 จำนวน 10 แห่ง ผ่านเกณฑ จำนวน 6 แห่ง ผลการดำเนินงานสะสมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 ให้คำแนะนำปรับปรุงแก้ไขสถานประกอบการที่ไม่ผ่านเกณฑฺ์การตรวจ ทั้งสิ้น 102 แห่ง จนผ่านเกณฑ์การตรวจ 66 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 64.71...//

** ปัญหาของโครงการ :- ไม่มี...//

** อุปสรรคของโครงการ :- ไม่มี...//

------------------&&&--------------------

(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 45.00 (2023-04-07)

45.00

07/04/2566 : อยู่่ระหว่างดำเนินการ 1. กิจกรรมสุ่มตรวจสุขอนามัยและวิการที่ไม่เหมาะสมต่อการบริโภคในเนื้อสัตว์ในสถานประกอบการ ผลการดำเนินงานที่ได้รับการสุ่งตรวจฯ เดือนกุมภาพันธ์ 2566 ครั้งที่ 1 จำนวน 52 แ่ห่ง ครั้งที่ 2 จำนวน 108 แห่ง ผลการดำเนินงานตามกิจกรรม ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 - กุมภาพันธ์ 2566 ผลการดำเนินการสุ่มตรวจสุขอนามัยและวิการที่ไม่เหมาะสมต่อการบริโภคในเนื้อสัตว์ในสถานประกอบการจากสถานประกอบการทั้งสิ้น จำนวน 779 แห่ง สถานประกอบการที่ได้รับการสุ่มตรวจฯ ครั้งที่ 1 จำนวน 679 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 87.16 ครั้งที่ 2 จำนวน 184 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 23.62 2. กิจกรรมการสุ่มตรวจเชื้อโรคอาหารเป็นพิษจากตัวอย่างเนื้อสัตว์ทางห้องปฏิบัติการ ผลการดำเนินงานตามกิจกรรม ดำเนินการตรวจวิเคราะห์เชื้อ Salmonella spp. และเชื้อ Staphylococcus aureus ในเนื้อสัตว์ทางห้องปฏิบัติการ ประจำเดือน มีนาคม 2566 รวมทั้งสิ้น 296 ตัวอย่าง ผ่่านเกณฑ์การตรวจ 248 ตัวอย่าง ไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจ 48 ตัวอย่าง ผลการดำเนินงานสะสมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 รวมทั้งสิ้น 1,722 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์การตรวจ 1,532 ตัวอย่าง ไม่ผ่านเกณฑ์ 190 ตัวอย่าง ตัวอย่างเนื้อสัตว์ที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบเชื้อโรคอาหารเป็นพิษคิดเป็นร้อยละ 88.97 3. กิจกรรมการให้คำแนะนำปรับปรุงแก้ไขแก่สถานประกอบการให้ผ่านมาตรฐานเกณฑ์การตรวจเนื้อสัตว์ทางห้องปฏิบัติการ ผลการดำเนินงานตามกิจกรรม ดำเนินการให้คำแนะนำปรับปรุงแก้ไขแก่สถานประกอบการที่ไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจเนื้อสัตว์ทางห้องปฏิบัติการ ประจำเดือนมีนาคม 2566 จำนวน 27 แห่ง ผ่านเกณฑ จำนวน 15 แห่ง ผลการดำเนินงานสะสมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 ให้คำแนะนำปรับปรุงแก้ไขสถานประกอบการที่ไม่ผ่านเกณฑฺ์การตรวจ ทั้งสิ้น 92 แห่ง จนผ่านเกณฑ์การตรวจ 60 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 65.22...//

** ปัญหาของโครงการ :- ไม่มี...//

** อุปสรรคของโครงการ :- ไม่มี...//

------------------&&&--------------------

(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 40.00 (2023-03-15)

40.00

15/03/2566 : อยู่ระหว่างดำเนินการ 1. กิจกรรมสุ่มตรวจสุขอนามัยและวิการที่ไม่เหมาะสมต่อการบริโภคในเนื้อสัตว์ในสถานประกอบการ ผลการดำเนินงานที่ได้รับการสุ่งตรวจฯ เดือนกุมภาพันธ์ 2566 ครั้งที่ 1 จำนวน 52 แ่ห่ง ครั้งที่ 2 จำนวน 100 แห่ง ผลการดำเนินงานตามกิจกรรม ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 - กุมภาพันธ์ 2566 ผลการดำเนินการสุ่มตรวจสุขอนามัยและวิการที่ไม่เหมาะสมต่อการบริโภคในเนื้อสัตว์ในสถานประกอบการจากสถานประกอบการทั้งสิ้น จำนวน 779 แห่ง สถานประกอบการที่ได้รับการสุ่มตรวจฯ ครั้งที่ 1 จำนวน 679 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 87.16 ครั้งที่ 2 จำนวน 184แห่ง คิดเป็นร้อยละ 23.62 2. กิจกรรมการสุ่มตรวจเชื้อโรคอาหารเป็นพิษจากตัวอย่างเนื้อสัตว์ทางห้องปฏิบัติการ ผลการดำเนินงานตามกิจกรรม ดำเนินการตรวจวิเคราะห์เชื้อ Salmonella spp. และเชื้อ Staphylococcus aureus ในเนื้อสัตว์ทางห้องปฏิบัติการ ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2566 รวมทั้งสิ้น 280 ตัวอย่าง ผ่่านเกณฑ์การตรวจ 269 ตัวอย่าง ไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจ 11 ตัวอย่าง ผลการดำเนินงานสะสมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 รวมทั้งสิ้น 1,426 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์การตรวจ 1,315 ตัวอย่าง ไม่ผ่านเกณฑ์ 111 ตัวอย่าง ตัวอย่างเนื้อสัตว์ที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบเชื้อโรคอาหารเป็นพิษคิดเป็นร้อยละ 91.27 3. กิจกรรมการให้คำแนะนำปรับปรุงแก้ไขแก่สถานประกอบการให้ผ่านมาตรฐานเกณฑ์การตรวจเนื้อสัตว์ทางห้องปฏิบัติการ ผลการดำเนินงานตามกิจกรรม ดำเนินการให้คำแนะนำปรับปรุงแก้ไขแก่สถานประกอบการที่ไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจเนื้อสัตว์ทางห้องปฏิบัติการ ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566 จำนวน 11 แห่ง ผ่านเกณฑ จำนวน 7 แห่ง ผลการดำเนินงานสะสมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 ให้คำแนะนำปรับปรุงแก้ไขสถานประกอบการที่ไม่ผ่านเกณฑฺ์การตรวจ ทั้งสิ้น 65 แห่ง จนผ่านเกณฑ์การตรวจ 45 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 69.23...//

** ปัญหาของโครงการ :- ไม่มี...//

** อุปสรรคของโครงการ :- ไม่มี...//

------------------&&&--------------------

(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 33.00 (2023-02-10)

33.00

10/02/2566 : อยู่ระหว่างดำเนินการ 1. กิจกรรมสุ่มตรวจสุขอนามัยและวิการที่ไม่เหมาะสมต่อการบริโภคในเนื้อสัตว์ในสถานประกอบการ ผลการดำเนินงานตามกิจกรรม ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 - มกราคม 2566 ผลการดำเนินการสุ่มตรวจสุขอนามัยและวิการที่ไม่เหมาะสมต่อการบริโภคในเนื้อสัตว์ในสถานประกอบการจากสถานประกอบการทั้งสิ้น จำนวน 779 แห่ง สถานประกอบการที่ได้รับการสุ่มตรวจฯ ครั้งที่ 1 จำนวน 579 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 74.33 ครั้งที่ 2 จำนวน 75 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 9.63 2. กิจกรรมการสุ่มตรวจเชื้อโรคอาหารเป็นพิษจากตัวอย่างเนื้อสัตว์ทางห้องปฏิบัติการ ผลการดำเนินงานตามกิจกรรม ดำเนินการตรวจวิเคราะห์เชื้อ Salmonella spp. และเชื้อ Staphylococcus aureus ในเนื้อสัตว์ทางห้องปฏิบัติการ ประจำเดือน มกราคม 2566 รวมทั้งสิ้น 370 ตัวอย่าง ผ่่านเกณฑ์การตรวจ 331 ตัวอย่าง ไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจ 39 ตัวอย่าง ผลการดำเนินงานสะสมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 รวมทั้งสิ้น 1,146 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์การตรวจ 1,046 ตัวอย่าง ไม่ผ่านเกณฑ์ 100 ตัวอย่าง ตัวอย่างเนื้อสัตว์ที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบเชื้อโรคอาหารเป็นพิษคิดเป็นร้อยละ 91.27 3. กิจกรรมการให้คำแนะนำปรับปรุงแก้ไขแก่สถานประกอบการให้ผ่านมาตรฐานเกณฑ์การตรวจเนื้อสัตว์ทางห้องปฏิบัติการ ผลการดำเนินงานตามกิจกรรม ดำเนินการให้คำแนะนำปรับปรุงแก้ไขแก่สถานประกอบการที่ไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจเนื้อสัตว์ทางห้องปฏิบัติการ ประจำเดือนมกราคม 2566 จำนวน 24 แห่ง ผลการดำเนินงานสะสมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 ให้คำแนะนำปรับปรุงแก้ไขสถานประกอบการที่ไม่ผ่านเกณฑฺ์การตรวจ ทั้งสิ้น 57 แห่ง จนผ่านเกณฑ์การตรวจ 45 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 78.95...//

** ปัญหาของโครงการ :- ไม่มี...//

** อุปสรรคของโครงการ :- ไม่มี...//

------------------&&&--------------------

(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 25.00 (2023-01-19)

25.00

19/01/2566 : อยู่ระหว่างดำเนินการ 1. กิจกรรมสุ่มตรวจสุขอนามัยและวิการที่ไม่เหมาะสมต่อการบริโภคในเนื้อสัตว์ในสถานประกอบการ ผลการดำเนินงานตามกิจกรรม ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 - ธันวาคม 2565 ผลการดำเนินการสุ่มตรวจสุขอนามัยและวิการที่ไม่เหมาะสมต่อการบริโภคในเนื้อสัตว์ในสถานประกอบการจากสถานประกอบการทั้งสิ้น จำนวน 779 แห่ง สถานประกอบการที่ได้รับการสุ่มตรวจฯ ครั้งที่ 1 จำนวน 503 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 64.57 2. กิจกรรมการสุ่มตรวจเชื้อโรคอาหารเป็นพิษจากตัวอย่างเนื้อสัตว์ทางห้องปฏิบัติการ ผลการดำเนินงานตามกิจกรรม ผลการดำเนินงานสะสมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 รวมทั้งสิ้น 776 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์การตรวจ 715 ตัวอย่าง ไม่ผ่านเกณฑ์ 61 ตัวอย่าง ตัวอย่างเนื้อสัตว์ที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบเชื้อโรคอาหารเป็นพิษคิดเป็นร้อยละ 92.14 3. กิจกรรมการให้คำแนะนำปรับปรุงแก้ไขแก่สถานประกอบการให้ผ่านมาตรฐานเกณฑ์การตรวจเนื้อสัตว์ทางห้องปฏิบัติการ ผลการดำเนินงานตามกิจกรรม ผลการดำเนินงานสะสมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 ให้คำแนะนำปรับปรุงแก้ไขสถานประกอบการที่ไม่ผ่านเกณฑฺ์การตรวจ ทั้งสิ้น 33 แห่ง จนผ่านเกณฑ์การตรวจ 21 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 63.64...//

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

แผนการดำเนินงานฯ

ขั้นตอน 1
:กิจกรรมที่ 1 การสุ่มตรวจสุขอนามัยและวิการที่ไม่เหมาะสมต่อการบริโภคในเนื้อสัตว์ในสถานประกอบการ 1. วางแผนการดำเนินการสุ่มตรวจเนื้อสัตว์ในสถานประกอบการ และประสานงานกับผู้ที่เกี่ยวข้อง
:10.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 2
:1.2. ดำเนินการลงพื้นที่สุ่มตรวจสุขอนามัยและวิการในเนื้อสัตว์ในสถานประกอบกิจการฆ่าสัตว์และสถานประกอบการจำหน่ายเนื้อสัตว์ พร้อมทั้งให้ข้อเสนอแนะในการแก้ไขปรับปรุงตามหลักสุขศาสตร์เนื้อสัตว์
:25.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 3
:1.3. สรุปและประเมินผลการดำเนินงาน
:5.00%
เริ่มต้น :2023-08-01 00:00:00
สิ้นสุด :2023-08-01 00:00:00
ขั้นตอน 4
:กิจกรรมที่ 2 การสุ่มตรวจเชื้อโรคอาหารเป็นพิษจากตัวอย่างเนื้อสัตว์ทางห้องปฏิบัติการ 1. วางแผนการดำเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างเนื้อสัตว์ในสถานประกอบการ และประสานงานกับผู้ที่เกี่ยวข้อง และดำเนินการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
:5.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 5
:2.2. ดำเนินการลงพื้นที่สุ่มเก็บตัวอย่างเนื้อสัตว์ในสถานประกอบการและส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
:10.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 6
:2.3. ตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการชันสูตรโรคสัตว์พร้อมทั้งทำการรายงานผลการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ
:10.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 7
:2.4. แจ้งผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการให้แก่สถานประกอบการ
:5.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 8
:2.5. สรุปและประเมินผลการดำเนินงาน
:5.00%
เริ่มต้น :2023-08-01 00:00:00
สิ้นสุด :2023-08-01 00:00:00
ขั้นตอน 9
:กิจกรรมที่ 3 การให้คำแนะนำปรับปรุงแก้ไขแก่สถานประกอบการให้ผ่านมาตรฐานเกณฑ์การตรวจเนื้อสัตว์ทางห้องปฏิบัติการ 1. วางแผนการให้คำแนะนำปรับปรุงแก้ไขแก่สถานประกอบการ
:5.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 10
:3.2. ดำเนินการลงพื้นที่แจ้งผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการและให้คำแนะนำปรับปรุงแก้ไขแก่สถานประกอบการ
:5.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 11
:3.3. ดำเนินการลงพื้นที่เก็บตัวอย่างเนื้อสัตว์ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการซ้ำ ในสถานประกอบการที่ไม่ผ่านเกณฑ์การตรวจครั้งแรก
:5.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 12
:3.4. ตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการชันสูตรโรคสัตว์และจัดทำข้อมูลผลการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ
:5.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 13
:3.5. สรุปและประเมินผลการดำเนินงาน
:5.00%
เริ่มต้น :2023-08-01 00:00:00
สิ้นสุด :2023-08-01 00:00:00

(ทดสอบ) แสดงขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ : 08000000-7083

(คลิก) ขั้นตอนการปฏิบัติงานของโครงการ : 08000000-7083

สนับสนุนตัวชี้วัดตามแผนฯ

รายละเอียดเกี่ยวกับตัวชี้วัด : 0800-6742

ตัวชี้วัด : ร้อยละของสถานประกอบการได้รับการสุ่มตรวจสุขอนามัยและวิการในเนื้อสัตว์อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง/แห่ง

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 80

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 99.73

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome)

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ )
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

0 / 0
2
23.62

0 / 0
3
73.56

0 / 0
4
99.73

0 / 0

** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **