ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
กองการพยาบาลสาธารณสุข
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1
จากสถิติในประเทศไทย ปี 2563 โดยกรมกิจการผู้สูงอายุ (31 ธันวาคม 2563) ได้รายงานว่าประเทศไทยมีประชากรผู้สูงอายุ 11,627,130 คน คิดเป็นร้อยละ 17.57 โดยพบว่า กรุงเทพมหานครเป็นจังหวัดที่มีผู้สูงอายุอาศัยอยู่จานวนมากถึง 1,108,219 คน (ร้อยละ 19.83) (กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย, 2563) ประเทศไทยได้เข้าสู่การเป็นสังคมสูงอายุ (Aged Society) มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 ประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป มีสัดส่วน 1 ใน 10 ของประชากรทั้งหมด ปัจจุบันประเทศไทยเป็น “สังคมสูงวัยโดยสมบูรณ์” (Complete Aged Society) ตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา และจะเป็น “สังคมสูงวัยระดับสุดยอด” (Super Aged Society) ภายในปี พ.ศ. 2578 ประมาณการว่า ประเทศไทยจะมีประชากรสูงอายุเพิ่มขึ้นเป็น 16 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 25 (สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล, 2561) การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจะส่งผลต่อสังคมไทยอย่างมากในอนาคต เนื่องจากกลุ่มผู้สูงอายุจะเริ่มมีภาวะเสี่ยงด้านสุขภาพ ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และความทรงจา โดยเฉพาะในเรื่องของความทรงจา ซึ่งนับว่ามีความจาเป็นที่จะต้องได้รับการคัดกรองเฝูาระวังอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งความเสี่ยงด้านสุขภาพ ดังที่กล่าวมา จากความเสื่อมของสภาพร่างกายตามวัยทาให้ผู้สูงอายุเกิดการเจ็บปุวยและมีโรคประจาตัวต้องเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล บางรายต้องใช้ระยะเวลานานในการพักรักษาตัวอยู่โรงพยาบาล จึงมีเปูาหมายต้องการจะช่วยลดปัญหาความแออัดของผู้ปุวยที่พักรักษาตัวในโรงพยาบาล เพื่อให้มีเตียงว่างสาหรับรองรับผู้ปุวยที่จาเป็นรายอื่น ส่งผลให้ผู้ปุวยที่มีอาการดีขึ้นจะถูกผลักดันให้กลับมาดูแลต่อที่บ้าน จากสถานการณ์เหล่านี้ล้วนส่งผลกระทบต่อสังคมโดยรวมทั้งสิ้น ทั้งในแง่การเมือง การปกครอง สังคม เศรษฐกิจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านเศรษฐกิจ ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับงบประมาณของภาครัฐที่มีความจาเป็น และเป็นปัจจัยที่สาคัญยิ่งต่อการวางนโยบายแห่งชาติ เพื่อรองรับความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น การเตรียมความพร้อม รับมือต่อการเปลี่ยนแปลงของประชากรสูงอายุในประเทศ ที่เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างรวดเร็ว รวมทั้งปัญหา โรคเรื้อรัง ยังเป็นประเด็นสาคัญที่ส่งผลทาให้ผู้ปุวยและผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงในกลุ่มติดบ้านติดเตียงมีความต้องการการดูแลจานวนมาก จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น กองการพยาบาลสาธารณสุข สานักอนามัย จึงได้ริเริ่มจัดทาการดูแลผู้ปุวยในรูปแบบการพยาบาลที่บ้านดุจโรงพยาบาล (Home ward) โดยเริ่มต้นจากการจัดทาโครงการ การพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ปุวยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน โดยในปีงบประมาณ 2559 – 2565 สานักอนามัย กรุงเทพมหานคร ผลิตแกนนาผู้ดูแล (Caregiver) อย่างต่อเนื่อง ซึ่งยังไม่เพียงพอเมื่อเทียบกับจานวนผู้ปุวยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ซึ่งได้รับการประเมินความพึงพอใจถึงร้อยละ 95 แสดงให้เห็นว่าผู้ดูแล (Caregiver) สามารถให้การดูแลเฝูาระวัง คัดกรองภาวะผิดปกติ โดยสามารถทางานร่วมกับพยาบาลผู้จัดการสุขภาพ (Nurse Care Manager) และเป็นเครือข่ายทีมสุขภาพที่มีทักษะพื้นฐานทางการพยาบาลเบื้องต้น สามารถให้การดูแลสุขภาพผู้ปุวยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงที่บ้านในลักษณะ Home ward ได้ และเมื่อเปรียบเทียบจานวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงของกรุงเทพมหานครที่มีจานวนมากขึ้น ประกอบกับจานวนผู้ดูแล (Caregiver) ที่มีจานวนน้อยไม่เพียงพอในการดูแลผู้ปุวยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลจากศูนย์ส่งต่อเพื่อการดูแลผู้ปุวยต่อเนื่องที่บ้าน ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร (BMA Home Ward Referral Center) เมื่อผู้ปุวยและผู้สูงอายุ จาหน่ายออกจากโรงพยาบาลและต้องได้รับการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน จะถูกส่งต่อมายังศูนย์ส่งต่อฯ จากนั้นจะส่งข้อมูลผู้ปุวยและแผนที่บ้านผ่านออนไลน์ไปยัง ศูนย์บริการสาธารณสุข ทั้ง 69 แห่ง ตามพื้นที่รับผิดชอบครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร ศูนย์บริการสาธารณสุข ดาเนินการลงพื้นที่ เพื่อเยี่ยมติดตามผู้ปุวยต่อเนื่องที่บ้าน (Home Health Care) ดังนั้นการจัดอบรมผู้ดูแล (Caregiver) จึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องอบรมสร้างแกนนาผู้ดูแลใหม่และสาหรับผู้ดูแล (Caregiver) ที่เคยผ่านการอบรมสร้างแกนนาปีงบประมาณ 2559 2565 มีความจาเป็นต้องเพิ่มศักยภาพการเป็นผู้ดูแลอย่างต่อเนื่อง เพื่อเตรียมความพร้อมเครือข่ายทีมสุขภาพ ในการดูแลผู้ปุวยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในกลุ่มติดบ้านติดเตียงอีกเป็นจานวนมาก ผ่านโปรแกรม BMA Home Ward Referral ให้ได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านเพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป
08040000/08040000
1 เพื่อสร้างแกนนาผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ปุวยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านให้มีความรู้ในการดูแลผู้ปุวยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงที่บ้าน 2 เพื่อฟื้นฟูผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ปุวยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่อง ที่บ้านให้เพิ่มพูนความรู้และทักษะในการดูแลผู้ปุวยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงที่บ้าน 3 เพื่อชี้แจงแนวทางการดาเนินงาน ติดตามการปฏิบัติงาน ปัญหา อุปสรรคของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ปุวยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน 4 เพื่อผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ปุวยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ที่ปฏิบัติงานจริงได้รับการติดตาม กากับ ดูแล 5 เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของผู้ดูแลผู้ปุวยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
กิจกรรมที่ 1 การอบรมสร้างแกนนาผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ปุวยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน กลุ่มเปูาหมาย คือ บุคคลภายนอก และบุคลากรของสานักอนามัย จานวน 150 คน เจ้าหน้าที่ดาเนินการ จานวน 20 คน รวมทั้งสิ้น 170 คน และวิทยากรวันละ 2 - 4 คน กิจกรรมที่ 2 การอบรมฟื้นฟูผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ปุวยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน กลุ่มเปูาหมาย คือ ผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลที่เคยผ่านการอบรมสร้างแกนนาผู้ดูแลฯ ปี 2559 – 2565 มีผลการปฏิบัติงานดี มีความต่อเนื่อง จานวน 200 คน เจ้าหน้าที่ดาเนินการ จานวน 20 คน รวมทั้งสิ้น 220 คน และวิทยากรวันละ 1 – 4 คน กิจกรรมที่ 3 การประชุมชี้แจงแนวทางการดาเนินงาน ติดตามการปฏิบัติงาน ปัญหา อุปสรรคของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ปุวยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน กลุ่มเปูาหมาย คือ ผู้ดูแล เพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลที่เคยผ่านการอบรมสร้างแกนนาผู้ดูแลฯ ในปีงบประมาณ 2559 2566 พยาบาลวิชาชีพ บุคลากร เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องของศูนย์บริการสาธารณสุข และบุคลากรที่เกี่ยวข้องจากภาครัฐและภาคเอกชน จานวน 69 แห่ง แห่งละ 40 คน กิจกรรมที่ 4 การพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ปุวยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home ward)
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-09-07)
07/09/2566 : ดำเนินการแล้วเสร็จตามแผนงานที่วางไว้ โดยโครงการ การพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ดำเนินการเสร็จสิ้นแล้ว เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 95.00 (2023-08-18)
18/08/2566 : อยู่ระหว่างการรวบรวมเอกสารเบิกจ่ายเงินของไตรมาส 3 ในกิจกรรมที่ 3 การประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน ติดตามการปฏิบัติงาน ปัญหา อุปสรรคของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 85.00 (2023-07-11)
11/07/2566 : ดำเนินการจัดกิจกรรมตามโครงการฯ ดังนี้ กิจกรรมที่ 3 การประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน ติดตามการปฏิบัติงาน ปัญหา อุปสรรคของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน อยู่ระหว่างการรวบรวมเอกสารเบิกจ่ายเงินของไตรมาส 3 กิจกรรมที่ 5 สนับสนุนผู้ดูแลให้สามารถดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านได้อย่างมีประสิทธิภาพ อยู่ระหว่างรอผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ลงนามอนุมัติหนังสือโอนกรรมสิทธิ์ที่ไม่มีลักษณะเป็นการจำหน่ายและจ่ายขาดชุดอุปกรณ์ดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 80.00 (2023-06-13)
13/06/2566 : ดำเนินการจัดกิจกรรมตามโครงการฯ ดังนี้ กิจกรรมที่ 3 การประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน ติดตามการปฏิบัติงาน ปัญหา อุปสรรคของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน อยู่ระหว่างดำเนินการจัดประชุมของไตรมาส 3 กิจกรรมที่ 5 สนับสนุนผู้ดูแลให้สามารถดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดำเนินการจัดประชุมกำหนดรายละเอียดคุณลักษณะเรียบร้อย และกำลังดำเนินการในขั้นตอนถัดไป
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 75.00 (2023-05-12)
12/05/2566 : ดำเนินการจัดกิจกรรมตามโครงการฯ ดังนี้ กิจกรรมที่ 3 การประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน ติดตามการปฏิบัติงาน ปัญหา อุปสรรคของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน อยู่ระหว่างดำเนินการจัดประชุม และรวบรวมเอกสารในไตรมาส 2 กิจกรรมที่ 5 สนับสนุนผู้ดูแลให้สามารถดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดำเนินการจัดประชุมกำหนดรายละเอียดคุณลักษณะเรียบร้อยแล้ว
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2023-04-19)
19/04/2566 : ดำเนินการจัดกิจกรรมตามโครงการฯ ดังนี้ กิจกรรมที่ 3 การประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน ติดตามการปฏิบัติงาน ปัญหา อุปสรรคของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน อยู่ระหว่างการรวบรวมเอกสารเบิกจ่ายเงินของไตรมาส 2
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2023-03-15)
15/03/2566 : ดำเนินการจัดกิจกรรมตามโครงการฯ ดังนี้ กิจกรรมที่ 1 การอบรมสร้างแกนนำผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ดำเนินการ ภาคทฤษฎี อบรมแบบ Online ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ระบบ Zoom Conference จำนวน 8 วัน และฝึกปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ ณ ศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 3 วัน เรียบร้อยแล้ว จำนวน 179 คน กิจกรรมที่ 2 การอบรมพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ดำเนินการ อบรมแบบ Online โดยใช้ระบบทางไกลผ่านจอภาพ จำนวน 3 วัน เรียบร้อยแล้ว จำนวน 200 คน กิจกรรมที่ 3 การประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน ติดตามการปฏิบัติงาน ปัญหา อุปสรรคของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน อยู่ระหว่างรออนุมัติการเบิกจ่ายเงิน ของเดือนธันวาคม 2565 และเดือนมกราคม 2566 กิจกรรมที่ 4 การพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home Ward) อยู่ระหว่างดำเนินการลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา ประจำเดือนมีนาคม 2566 ตามที่กำหนดไว้
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 40.00 (2023-02-15)
15/02/2566 : ดำเนินการจัดกิจกรรมตามโครงการฯ ดังนี้ กิจกรรมที่ 1 การอบรมสร้างแกนนำผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ดำเนินการ ภาคทฤษฎี อบรมแบบ Online ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ระบบ Zoom Conference จำนวน 8 วัน อบรบเมื่อวันที่ 16 - 20 และ 23 - 25 มกราคม 2566 เรียบร้อยแล้ว และอยู่ระหว่างฝึกปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ ณ ศูนย์บริการสาธารณสุข กิจกรรมที่ 2 การอบรมพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ดำเนินการ อบรมแบบ Online โดยใช้ระบบทางไกลผ่านจอภาพ จำนวน 3 วัน เมื่อวันที่ 26 – 27 และ 30 มกราคม 2566 เรียบร้อยแล้ว กิจกรรมที่ 3 การประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน ติดตามการปฏิบัติงาน ปัญหา อุปสรรคของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน อยู่ระหว่างดำเนินการเบิกจ่ายเงิน ของเดือนธันวาคม 2565 และเดือนมกราคม 2566 กิจกรรมที่ 4 การพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home Ward) อยู่ระหว่างดำเนินการลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566 ตามที่กำหนดไว้
** ปัญหาของโครงการ :อยู่ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 30.00 (2023-01-20)
20/01/2566 : อยู่ระหว่างดำเนินการกิจกรรม ดังนี้ 1. กิจกรรมที่ 1 การอบรมสร้างแกนนำผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน เป็นการอบรม Online ผ่านโปรแกรม ZOOM ในวันที่ 16-25 มกราคม 2566 2. กิจกรรมที่ 2 การอบรมฟื้นฟูผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน เป็นการอบรม Online ผ่านโปรแกรม ZOOM ในวันที่ 26-30 มกราคม 2566 3. กิจกรรมที่ 3 การจัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน ติดตามการปฏิบัติงาน ปัญหา อุปสรรคของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน อยู่ระหว่างรวบรวมเอกสารการประชุมจากศูนย์บริการสาธารณสุข 4. กิจกรรมที่ 4 การพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home ward) อยู่ระหว่างลงพื้นที่ตรวจประเมินศูนย์บริการสาธารณสุขของเดือนมกราคม 2566
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home ward ได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่อง ที่บ้าน (ผลลัพธ์)
ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **