ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 0
นายเดชชาติ ภักดีพันธุ์ 2511
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1
คลองกรวยเป็นคลองขนาดเล็กกว้างประมาณ 2.00 – 4.00 ม. โดยรับน้ำจากจุดเสี่ยงน้ำท่วมขังถนนจันทน์ ช่วงจากซอยบำเพ็ญกุศลถึงที่ทำการไปรษณีย์ยานนาวา และจุดเสี่ยงน้ำท่วมขังถนนสาธูประดิษฐ์ บริเวณแยกตัดถนนจันทน์ด้วยระบบดันท่อใต้ดิน (PIPR JACKING) ซึ่งสูบระบายลงคลองกรวยตรงบริเวณถนนเจริญราษฎร์ด้วยบ่อสูบน้ำขนาดกำลังสูบ 4.50 ลบ.ม./วินาที ด้วยสภาพคลองที่แคบและตื้นเขินทำให้เมื่อเวลาสูบระบายน้ำ ทำให้น้ำล้นคลองไม่สามารถเร่งระบายน้ำออกจากจุดเสี่ยงน้ำท่วมขังได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ จึงจำเป็นต้องมีการพัฒนาปรับปรุงประสิทธิภาพระบบลำเลียงน้ำคลองกรวยให้ระบายน้ำได้อย่างรวดเร็ว และเพิ่มประสิทธิภาพกำลังสูบที่สถานีสูบน้ำปลายคลองกรวยระบายลงสู่แม่น้ำเจ้าพระยา สำนักการระบายน้ำจึงมีโครงการปรับปรุงสถานีสูบน้ำคลองกรวย โดยการปรับปรุงประสิทธิภาพระบบลำเลียงน้ำคลองกรวยด้วยการขุดลอกคลองกรวยและก่อสร้างผนังกั้นน้ำ (Flood Wall) คลองกรวยจากถนนเจริญราษฎร์ถึงสถานีสูบน้ำคลองกรวย และเพิ่มประสิทธิภาพกำลังสูบน้ำสถานีสูบน้ำคลองกรวยจาก 6.00 ลบ.ม./วินาทีเป็น 11.00 ลบ.ม./วินาที เพื่อเร่งระบายน้ำลงแม่น้ำเจ้าพระยาได้เร็วขึ้น
11090240/11090240
เพื่อปรับปรุงสถานีสูบน้ำคลองกรวย
เพิ่มปรับปรุงประสิทธิภาพการระบายน้ำในคลองตาหนัง 3.1 ปรับปรุงสถานีสูบน้ำ ขนาดอัตราการสูบน้ำ 10 ลบ.ม/วินาที จำนวน 1 แห่ง 3.2 ติดตั้งอาคารที่พักเจ้าหน้าที่ จำนวน 1 แห่ง
ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
๑.๔ - ปลอดภัยพิบัติ |
๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ% |
๑.๔.๑.๑ กรุงเทพมหานครมีความพร้อมในการรับมือกับอุทกภัยทั้งจากน้ำฝนน้ำหนุนและน้ำหลาก เสริมสร้างศักยภาพและความสามารถด้านบุคลากรและเครื่องมือ |
ตัวชี้วัด : ร้อยละความสำเร็จในการระบายน้ำท่วมขังจากถนนสายหลัก
ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **