ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
นายจิโรจน์ เทียนโชติ โทร. 3350
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1
กรุงเทพมหานครและปริมณฑลมักประสบปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.5 มีค่าเกินค่ามาตรฐานในบางวันและบางพื้นที่ โดยมีแนวโน้มเกิดภาวะวิกฤตในช่วงเดือนธันวาคมถึงเดือนมีนาคม เนื่องจากเป็นช่วงเวลาที่สภาพอากาศปิด เกิดการสะสมของฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.5 อย่างต่อเนื่อง ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ระบบนิเวศน์และสุขภาพของประชาชน รวมทั้งผลกระทบเชิงลบในภาคธุรกิจและเศรษฐกิจของประเทศทำให้รัฐบาลยกระดับมาตรการแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองเป็นวาระแห่งชาติ กรุงเทพมหานครในฐานะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีหน้าที่ในการดูและคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่เมืองหลวงของประเทศ จึงต้องดำเนินการแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.5 ในกรุงเทพมหานครเพื่อเตรียมพร้อมรับมือสถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.5 ในขณะเดียวกันก็รณรงค์ประชาสัมพันธ์ทำความเข้าใจกับประชาชนถึงสถานการณ์ที่เกิดขึ้น สร้างการรับรู้ ทำความเข้าใจ และแนะนำการปฏิบัติตนในสถานการณ์ต่างๆ ตลอดจนขอความร่วมมือจากทุกภาคส่วนเพื่อร่วมป้องกันและแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.5 ดังนั้น สำนักเทศกิจจึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ป้องกันและแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.5 ในกรุงเทพมหานครขึ้น เพื่อกำหนดแนวทางและบูรณาการในการป้องกันและแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.5 ร่วมกับหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นเครื่องมือสำคัญในการช่วยสนับสนุนการดำเนินงานของกรุงเทพมหานครให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ อีกทั้งยังเป็นการสร้างทัศนคติเชิงบวกและส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดีของกรุงเทพมหานครต่อไป
15000000/15000000
2.1 เพื่อให้หน่วยงานของกรุงเทพมหานครใช้เป็นกรอบแนวทางด้านการประชาสัมพันธ์ร่วมกันอย่างบูรณาการ ตั้งแต่ขั้นเตรียมการก่อนเกิดสถานการณ์ ขั้นปฏิบัติการขณะเกิดสถานการณ์ และขั้นฟื้นฟูหลังจากสถานการกลับสู่ปกติ ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และตอบสนองความต้องการของผู้ค้า ผู้ประกอบการ และประชาชน 2.2 เพื่อเผยแพร่ข่าวสารภารกิจของกรุงเทพมหานคร ตามแนวนโยบายการรณรงค์ประชาสัมพันธ์การป้องกันและแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.5 ให้ประชาชนได้รับทราบอย่างต่อเนื่องและทั่วถึง 2.3 เพื่อให้เกิดการติดต่อสื่อสารสองทาง (Two - way Communication) ระหว่างกรุงเทพมหานครกับผู้ค้า ผู้ประกอบการ และประชาชน เป็นการประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความเข้าใจอันดีถูกต้องชัดเจน และตรงตามวัตถุประสงค์ 2.4 เพื่อสร้างการยอมรับ และการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกภาคส่วน ผู้ค้าและผู้ประกอบการ และให้ความร่วมมือในการดำเนินการของกรุงเทพมหานคร 2.5 เพื่อเสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดี อันก่อให้เกิดทัศนคติเชิงบวกต่อแนวนโยบายการป้องกันและแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.5 ของกรุงเทพมหานคร
3.1 เป้าหมายเชิงปริมาณ : ปฏิบัติภารกิจในการรณรงค์ประชาสัมพันธ์การป้องกันและแก้ไขปัญหาฝุ่นละออง PM2.5 และเผยแพร่ผ่านสื่อในช่องทางต่าง ๆ เช่น สื่อออนไลน์ โซเชียลมีเดีย เป็นต้น เพื่อแผยแพร่การดำเนินการ หรือแนวทางการป้องกันและแก้ไขสถานการณ์ปัญหาฝุ่นละออง PM2.5 3.2 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : ประชาชนรับและเข้าใจนโยบายการดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหาฝุ่นละออง PM2.5 ของกรุงเทพมหานคร ลดปัญหาที่เกิดจากความไม่เข้าใจในการสถานการณ์ หรือการดำเนินการ ตลอดจนให้การสนับสนุนและมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานคร
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-09-20)
20/09/2566 : เดือนกันยายน : สำนักเทศกิจได้จัดเจ้าหน้าที่ออกไปกำกับ ควบคุมดูแล จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต ซึ่งมีผลดำเนินการดังนี้ 1. ออกไปรณรงค์ประชาสัมพันธ์ วินรถจักรยานยนต์ ร้านค้าที่จำหน่ายอาหารปิ้ง ย่าง จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต และได้ทำสรุปแบบสอบถามของประชาชน
** ปัญหาของโครงการ :1. ประชาชนบางรายไม่ให้ความร่วมมือ
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 95.00 (2023-09-05)
05/09/2566 : เดือนกันยายน : สำนักเทศกิจได้จัดเจ้าหน้าที่ออกไปกำกับ ควบคุมดูแล จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต ซึ่งมีผลดำเนินการดังนี้ 1. ออกไปรณรงค์ประชาสัมพันธ์ วินรถจักรยานยนต์ ร้านค้าที่จำหน่ายอาหารปิ้ง ย่าง จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต
** ปัญหาของโครงการ :ประชาชนไม่ให้ความร่วมมือ
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 89.00 (2023-08-21)
21/08/2566 : เดือนสิงหาคม : สำนักเทศกิจได้จัดเจ้าหน้าที่ออกไปกำกับ ควบคุมดูแล จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต ซึ่งมีผลดำเนินการดังนี้ 1. ออกไปรณรงค์ประชาสัมพันธ์ วินรถจักรยานยนต์ ร้านค้าที่จำหน่ายอาหารปิ้ง ย่าง จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต
** ปัญหาของโครงการ :1. ประชาชนบางรายไม่ให้ความร่วมมือ
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 85.00 (2023-08-07)
07/08/2566 : เดือนสิงหา : สำนักเทศกิจได้จัดเจ้าหน้าที่ออกไปกำกับ ควบคุมดูแล จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต ซึ่งมีผลดำเนินการดังนี้ 1. ออกไปรณรงค์ประชาสัมพันธ์ วินรถจักรยานยนต์ ร้านค้าที่จำหน่ายอาหารปิ้ง ย่าง จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต
** ปัญหาของโครงการ :ประชาชนไม่ให้ความร่วมมือ
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 80.00 (2023-07-24)
24/07/2566 : เดือนกรกฎาคม : สำนักเทศกิจได้จัดเจ้าหน้าที่ออกไปกำกับ ควบคุมดูแล จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต ซึ่งมีผลดำเนินการดังนี้ 1. ออกไปรณรงค์ประชาสัมพันธ์ วินรถจักรยานยนต์ ร้านค้าที่จำหน่ายอาหารปิ้ง ย่าง จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต
** ปัญหาของโครงการ :1. ประชาชนบางรายไม่ให้ความร่วมมือ
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2023-07-10)
10/07/2566 : เดือนกรกฎาคม : สำนักเทศกิจได้จัดเจ้าหน้าที่ออกไปกำกับ ควบคุมดูแล จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต ซึ่งมีผลดำเนินการดังนี้ 1. ออกไปรณรงค์ประชาสัมพันธ์ วินรถจักรยานยนต์ ร้านค้าที่จำหน่ายอาหารปิ้ง ย่าง จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต
** ปัญหาของโครงการ :1. ประชาชนบางรายไม่ให้ความร่วมมือ
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 65.00 (2023-06-19)
19/06/2566 : เดือนมิถุนายน : เริ่มทอดแบบสอบถามความคิดเห็นของประชาชน สุ่มทอดแบบสอบถามรอบที่สอง ตั้งแต่ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2566 ถึง กันยายน 2566 จำนวน 100 ชุด และสำนักเทศกิจได้จัดเจ้าหน้าที่ออกไปกำกับ ควบคุมดูแล จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต ซึ่งมีผลดำเนินการดังนี้ 1. ออกไปรณรงค์ประชาสัมพันธ์ วินรถจักรยานยนต์ ร้านค้าที่จำหน่ายอาหารปิ้ง ย่าง จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต
** ปัญหาของโครงการ :1. ประชาชนบางรายไม่ให้ความร่วมมือ
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 64.00 (2023-06-02)
02/06/2566 : เดือนตุลาคม : ศึกษา ขั้นตอน วิธีการดำเนินการ ในการทำโครงการ เดือนพฤศจิกายน : เริ่มจัดทำเอกสารขออนุมัติโครงการ ตามหนังสือที่ กท 1402/1067 ลงวันที่ 31 ตุลาคม 2565 เดือนธันวาคม : สำนักเทศกิจได้จัดเจ้าหน้าที่ออกไปกำกับ ควบคุมดูแล จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต ซึ่งมีผลดำเนินการดังนี้ 1. ออกไปรณรงค์ประชาสัมพันธ์ วินรถจักรยานยนต์ ร้านค้าที่จำหน่ายอาหารปิ้ง ย่าง จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต เดือนมกราคม : สำนักเทศกิจได้จัดเจ้าหน้าที่ออกไปกำกับ ควบคุมดูแล จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต ซึ่งมีผลดำเนินการดังนี้ 1. ออกไปรณรงค์ประชาสัมพันธ์ วินรถจักรยานยนต์ ร้านค้าที่จำหน่ายอาหารปิ้ง ย่าง จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต เดือนกุมภาพันธ์ : สำนักเทศกิจได้จัดเจ้าหน้าที่ออกไปกำกับ ควบคุมดูแล จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต ซึ่งมีผลดำเนินการดังนี้ 1. ออกไปรณรงค์ประชาสัมพันธ์ วินรถจักรยานยนต์ ร้านค้าที่จำหน่ายอาหารปิ้ง ย่าง จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต เดือนมีนาคม : เริ่มทอดแบบสอบถามความคิดเห็นของประชาชน สุ่มทอดแบบสอบถามรอบแรก ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 ถึง เมษายน จำนวน 100 ชุด และสำนักเทศกิจได้จัดเจ้าหน้าที่ออกไปกำกับ ควบคุมดูแล จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต ซึ่งมีผลดำเนินการดังนี้ 1. ออกไปรณรงค์ประชาสัมพันธ์ วินรถจักรยานยนต์ ร้านค้าที่จำหน่ายอาหารปิ้ง ย่าง จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต เดือนเมษายน : สำนักเทศกิจได้จัดเจ้าหน้าที่ออกไปกำกับ ควบคุมดูแล จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต ซึ่งมีผลดำเนินการดังนี้ 1. ออกไปรณรงค์ประชาสัมพันธ์ วินรถจักรยานยนต์ ร้านค้าที่จำหน่ายอาหารปิ้ง ย่าง จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต เดือนพฤษภาคม : สำนักเทศกิจได้จัดเจ้าหน้าที่ออกไปกำกับ ควบคุมดูแล จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต ซึ่งมีผลดำเนินการดังนี้ 1. ออกไปรณรงค์ประชาสัมพันธ์ วินรถจักรยานยนต์ ร้านค้าที่จำหน่ายอาหารปิ้ง ย่าง จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต เดือนมิถุนายน : เริ่มทอดแบบสอบถามความคิดเห็นของประชาชน สุ่มทอดแบบสอบถามรอบที่สอง ตั้งแต่ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2566 ถึง กันยายน 2566 จำนวน 100 ชุด และสำนักเทศกิจได้จัดเจ้าหน้าที่ออกไปกำกับ ควบคุมดูแล จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต ซึ่งมีผลดำเนินการดังนี้ 1. ออกไปรณรงค์ประชาสัมพันธ์ วินรถจักรยานยนต์ ร้านค้าที่จำหน่ายอาหารปิ้ง ย่าง จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต
** ปัญหาของโครงการ :1. ประชาชนบางรายไม่ให้ความร่วมมือ
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2023-05-16)
16/05/2566 : เดือนตุลาคม : ศึกษา ขั้นตอน วิธีการดำเนินการ ในการทำโครงการ เดือนพฤศจิกายน : เริ่มจัดทำเอกสารขออนุมัติโครงการ ตามหนังสือที่ กท 1402/1067 ลงวันที่ 31 ตุลาคม 2565 เดือนธันวาคม : สำนักเทศกิจได้จัดเจ้าหน้าที่ออกไปกำกับ ควบคุมดูแล จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต ซึ่งมีผลดำเนินการดังนี้ 1. ออกไปรณรงค์ประชาสัมพันธ์ วินรถจักรยานยนต์ ร้านค้าที่จำหน่ายอาหารปิ้ง ย่าง จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต เดือนมกราคม : สำนักเทศกิจได้จัดเจ้าหน้าที่ออกไปกำกับ ควบคุมดูแล จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต ซึ่งมีผลดำเนินการดังนี้ 1. ออกไปรณรงค์ประชาสัมพันธ์ วินรถจักรยานยนต์ ร้านค้าที่จำหน่ายอาหารปิ้ง ย่าง จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต เดือนกุมภาพันธ์ : สำนักเทศกิจได้จัดเจ้าหน้าที่ออกไปกำกับ ควบคุมดูแล จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต ซึ่งมีผลดำเนินการดังนี้ 1. ออกไปรณรงค์ประชาสัมพันธ์ วินรถจักรยานยนต์ ร้านค้าที่จำหน่ายอาหารปิ้ง ย่าง จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต เดือนมีนาคม : เริ่มทอดแบบสอบถามความคิดเห็นของประชาชน สุ่มทอดแบบสอบถามรอบแรก ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 ถึง เมษายน จำนวน 100 ชุด และสำนักเทศกิจได้จัดเจ้าหน้าที่ออกไปกำกับ ควบคุมดูแล จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต ซึ่งมีผลดำเนินการดังนี้ 1. ออกไปรณรงค์ประชาสัมพันธ์ วินรถจักรยานยนต์ ร้านค้าที่จำหน่ายอาหารปิ้ง ย่าง จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต เดือนเมษายน : สำนักเทศกิจได้จัดเจ้าหน้าที่ออกไปกำกับ ควบคุมดูแล จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต ซึ่งมีผลดำเนินการดังนี้ 1. ออกไปรณรงค์ประชาสัมพันธ์ วินรถจักรยานยนต์ ร้านค้าที่จำหน่ายอาหารปิ้ง ย่าง จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต เดือนพฤษภาคม : สำนักเทศกิจได้จัดเจ้าหน้าที่ออกไปกำกับ ควบคุมดูแล จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต ซึ่งมีผลดำเนินการดังนี้ 1. ออกไปรณรงค์ประชาสัมพันธ์ วินรถจักรยานยนต์ ร้านค้าที่จำหน่ายอาหารปิ้ง ย่าง จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต
** ปัญหาของโครงการ :ประชาชนไม่ให้ความร่วมมือ
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2023-05-03)
03/05/2566 :เดือนตุลาคม : ศึกษา ขั้นตอน วิธีการดำเนินการ ในการทำโครงการ เดือนพฤศจิกายน : เริ่มจัดทำเอกสารขออนุมัติโครงการ ตามหนังสือที่ กท 1402/1067 ลงวันที่ 31 ตุลาคม 2565 เดือนธันวาคม : สำนักเทศกิจได้จัดเจ้าหน้าที่ออกไปกำกับ ควบคุมดูแล จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต ซึ่งมีผลดำเนินการดังนี้ 1. ออกไปรณรงค์ประชาสัมพันธ์ วินรถจักรยานยนต์ ร้านค้าที่จำหน่ายอาหารปิ้ง ย่าง จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต เดือนมกราคม : สำนักเทศกิจได้จัดเจ้าหน้าที่ออกไปกำกับ ควบคุมดูแล จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต ซึ่งมีผลดำเนินการดังนี้ 1. ออกไปรณรงค์ประชาสัมพันธ์ วินรถจักรยานยนต์ ร้านค้าที่จำหน่ายอาหารปิ้ง ย่าง จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต เดือนกุมภาพันธ์ : สำนักเทศกิจได้จัดเจ้าหน้าที่ออกไปกำกับ ควบคุมดูแล จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต ซึ่งมีผลดำเนินการดังนี้ 1. ออกไปรณรงค์ประชาสัมพันธ์ วินรถจักรยานยนต์ ร้านค้าที่จำหน่ายอาหารปิ้ง ย่าง จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต เดือนมีนาคม : เริ่มทอดแบบสอบถามความคิดเห็นของประชาชน สุ่มทอดแบบสอบถามรอบแรก ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 ถึง เมษายน จำนวน 100 ชุด และสำนักเทศกิจได้จัดเจ้าหน้าที่ออกไปกำกับ ควบคุมดูแล จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต ซึ่งมีผลดำเนินการดังนี้ 1. ออกไปรณรงค์ประชาสัมพันธ์ วินรถจักรยานยนต์ ร้านค้าที่จำหน่ายอาหารปิ้ง ย่าง จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต เดือนเมษายน : สำนักเทศกิจได้จัดเจ้าหน้าที่ออกไปกำกับ ควบคุมดูแล จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต ซึ่งมีผลดำเนินการดังนี้ 1. ออกไปรณรงค์ประชาสัมพันธ์ วินรถจักรยานยนต์ ร้านค้าที่จำหน่ายอาหารปิ้ง ย่าง จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต
** ปัญหาของโครงการ :1. ประชาชนบางรายไม่ให้ความร่วมมือ
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(11) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2023-04-18)
18/04/2566 : เดือนตุลาคม : ศึกษา ขั้นตอน วิธีการดำเนินการ ในการทำโครงการ เดือนพฤศจิกายน : เริ่มจัดทำเอกสารขออนุมัติโครงการ ตามหนังสือที่ กท 1402/1067 ลงวันที่ 31 ตุลาคม 2565 เดือนธันวาคม : สำนักเทศกิจได้จัดเจ้าหน้าที่ออกไปกำกับ ควบคุมดูแล จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต ซึ่งมีผลดำเนินการดังนี้ 1. ออกไปรณรงค์ประชาสัมพันธ์ วินรถจักรยานยนต์ ร้านค้าที่จำหน่ายอาหารปิ้ง ย่าง จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต เดือนมกราคม : สำนักเทศกิจได้จัดเจ้าหน้าที่ออกไปกำกับ ควบคุมดูแล จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต ซึ่งมีผลดำเนินการดังนี้ 1. ออกไปรณรงค์ประชาสัมพันธ์ วินรถจักรยานยนต์ ร้านค้าที่จำหน่ายอาหารปิ้ง ย่าง จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต เดือนกุมภาพันธ์ : สำนักเทศกิจได้จัดเจ้าหน้าที่ออกไปกำกับ ควบคุมดูแล จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต ซึ่งมีผลดำเนินการดังนี้ 1. ออกไปรณรงค์ประชาสัมพันธ์ วินรถจักรยานยนต์ ร้านค้าที่จำหน่ายอาหารปิ้ง ย่าง จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต เดือนมีนาคม : เริ่มทอดแบบสอบถามความคิดเห็นของประชาชน สุ่มทอดแบบสอบถามรอบแรก ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 ถึง เมษายน จำนวน 100 ชุด และสำนักเทศกิจได้จัดเจ้าหน้าที่ออกไปกำกับ ควบคุมดูแล จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต ซึ่งมีผลดำเนินการดังนี้ 1. ออกไปรณรงค์ประชาสัมพันธ์ วินรถจักรยานยนต์ ร้านค้าที่จำหน่ายอาหารปิ้ง ย่าง จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต เดือนเมษายน : สำนักเทศกิจได้จัดเจ้าหน้าที่ออกไปกำกับ ควบคุมดูแล จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต ซึ่งมีผลดำเนินการดังนี้ 1. ออกไปรณรงค์ประชาสัมพันธ์ วินรถจักรยานยนต์ ร้านค้าที่จำหน่ายอาหารปิ้ง ย่าง จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต
** ปัญหาของโครงการ :ประชาชนอาจไม่ให้ความร่วมมือเท่าที่ควร
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(12) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2023-03-29)
29/03/2566 : เดือนตุลาคม : ศึกษา ขั้นตอน วิธีการดำเนินการ ในการทำโครงการ เดือนพฤศจิกายน : เริ่มจัดทำเอกสารขออนุมัติโครงการ ตามหนังสือที่ กท 1402/1067 ลงวันที่ 31 ตุลาคม 2565 เดือนธันวาคม : สำนักเทศกิจได้จัดเจ้าหน้าที่ออกไปกำกับ ควบคุมดูแล จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต ซึ่งมีผลดำเนินการดังนี้ 1. ออกไปรณรงค์ประชาสัมพันธ์ วินรถจักรยานยนต์ ร้านค้าที่จำหน่ายอาหารปิ้ง ย่าง จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต เดือนมกราคม : สำนักเทศกิจได้จัดเจ้าหน้าที่ออกไปกำกับ ควบคุมดูแล จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต ซึ่งมีผลดำเนินการดังนี้ 1. ออกไปรณรงค์ประชาสัมพันธ์ วินรถจักรยานยนต์ ร้านค้าที่จำหน่ายอาหารปิ้ง ย่าง จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต เดือนกุมภาพันธ์ : สำนักเทศกิจได้จัดเจ้าหน้าที่ออกไปกำกับ ควบคุมดูแล จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต ซึ่งมีผลดำเนินการดังนี้ 1. ออกไปรณรงค์ประชาสัมพันธ์ วินรถจักรยานยนต์ ร้านค้าที่จำหน่ายอาหารปิ้ง ย่าง จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต เดือนมีนาคม : เริ่มทอดแบบสอบถามความคิดเห็นของประชาชน สุ่มทอดแบบสอบถามรอบแรก ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 ถึง เมษายน 2566 จำนวน 100 ชุด และสำนักเทศกิจได้จัดเจ้าหน้าที่ออกไปกำกับ ควบคุมดูแล จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต ซึ่งมีผลดำเนินการดังนี้ 1. ออกไปรณรงค์ประชาสัมพันธ์ วินรถจักรยานยนต์ ร้านค้าที่จำหน่ายอาหารปิ้ง ย่าง จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต
** ปัญหาของโครงการ :ประชาชนบางส่วนไม่ให้ความร่วมมือ
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(13) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2023-03-28)
เดือนตุลาคม : ศึกษา ขั้นตอน วิธีการดำเนินการ ในการทำโครงการ เดือนพฤศจิกายน : เริ่มจัดทำเอกสารขออนุมัติโครงการ ตามหนังสือที่ กท 1402/1067 ลงวันที่ 31 ตุลาคม 2565 เดือนธันวาคม : สำนักเทศกิจได้จัดเจ้าหน้าที่ออกไปกำกับ ควบคุมดูแล จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต ซึ่งมีผลดำเนินการดังนี้ 1. ออกไปรณรงค์ประชาสัมพันธ์ วินรถจักรยานยนต์ ร้านค้าที่จำหน่ายอาหารปิ้ง ย่าง จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต เดือนมกราคม : สำนักเทศกิจได้จัดเจ้าหน้าที่ออกไปกำกับ ควบคุมดูแล จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต ซึ่งมีผลดำเนินการดังนี้ 1. ออกไปรณรงค์ประชาสัมพันธ์ วินรถจักรยานยนต์ ร้านค้าที่จำหน่ายอาหารปิ้ง ย่าง จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต เดือนกุมภาพันธ์ : สำนักเทศกิจได้จัดเจ้าหน้าที่ออกไปกำกับ ควบคุมดูแล จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต ซึ่งมีผลดำเนินการดังนี้ 1. ออกไปรณรงค์ประชาสัมพันธ์ วินรถจักรยานยนต์ ร้านค้าที่จำหน่ายอาหารปิ้ง ย่าง จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต เดือนมีนาคม : เริ่มทอดแบบสอบถามความคิดเห็นของประชาชน สุ่มทอดแบบสอบถามรอบแรก ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 ถึง เมษายน 2566 จำนวน 100 ชุด และสำนักเทศกิจได้จัดเจ้าหน้าที่ออกไปกำกับ ควบคุมดูแล จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต ซึ่งมีผลดำเนินการดังนี้ 1. ออกไปรณรงค์ประชาสัมพันธ์ วินรถจักรยานยนต์ ร้านค้าที่จำหน่ายอาหารปิ้ง ย่าง จำนวน 100 ครั้งต่อเดือน เฉลี่ย 2 ครั้งต่อเดือนต่อเขต
** ปัญหาของโครงการ :1. ประชาชนบางรายไม่ให้ความร่วมมือ
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(14) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 35.00 (2023-02-27)
27/02/2566 : จัดทำแผนการประชาสัมพันธ์แก่ผู้ค้าแผงลอย และชุมชนที่เคยมีประวัติการเผาพื้นที่
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(15) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 30.00 (2023-01-26)
26/01/2566 : อยู่ระหว่างเตรียมวิธีการและแนวทางการประชาสัมพันธ์
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(16) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2022-12-29)
29/12/2565 : ศึกษาข้อมูล จัดทำแผนดำเนินงาน และกำหนดขอบเขตเป้าหมายดำเนินการ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายรับรู้และตระหนักเรื่องปัญหาฝุ่น PM2.5 (สนท.2566)
ค่าเป้าหมาย ร้อยละ (ไม่น้อยกว่า) : 65
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ (ไม่น้อยกว่า) : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **