ความคืบหน้าโครงการ/กิจกรรม

Back Home
FusionCharts will render here

กิจกรรมรวบรวมการเพิ่มพื้นที่สีเขียวและสำรวจพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้นของสำนักงานเขต 50 เขต และสำนักงานสวนสาธารณะตามฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร : 22000000-3609

สํานักสิ่งแวดล้อม : (2560)

100

ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100

นางสาวชนิดา รอดสวัสดิ์ 2548

ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1 100

หลักการและเหตุผล

พื้นที่สีเขียวมีผลดีต่อสุขภาพและความเป็นอยู่ต่อประชากรในกรุงเทพมหานคร การเพิ่มพื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ และพื้นที่สีเขียวประเภทอื่นๆ ในกรุงเทพมหานคร จะส่งผลต่อสภาพแวดล้อมที่ดีของเมือง และส่งผลดีต่อสุขภาพของประชากร เนื่องจากต้นไม้ช่วยปรับปรุงคุณภาพอากาศ ลดอุณหภูมิ ช่วยปรับปรุงภูมิทัศน์ของเมือง อีกทั้งการมีสวนสาธารณะยังเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ และออกกำลังกายของประชาชน แต่ปัจจุบันนี้พื้นที่สีเขียวในกรุงเทพมหานครยังมีน้อยกว่ามาตรฐานที่องค์การอนามัยโลก (WHO) กำหนด ดังนั้นการเพิ่มพื้นที่สีเขียวจึงเป็นนโยบายที่ผู้บริหารกรุงเทพมหานครให้ความสำคัญเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน จากนโยบายมหานครสีเขียว ของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร โดยการเพิ่มพื้นที่สีเขียวอีก 5,000 ไร่ เป็นการผลักดันการเพิ่มพื้นที่สีเขียวโดยก่อสร้างสวนสาธารณะขนาดใหญ่ จากการจัดหาพื้นที่ว่างทั้งของรัฐและเอกชนเพื่อจัดสร้างเป็นพื้นที่สวนสาธารณะที่เน้นการประโยชน์ใช้สอยครบถ้วนตามมาตรฐานสวนสาธารณะระดับเมือง และการจัดทำฐานข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร จะทำให้สามารถติดตามสถานการณ์พื้นที่สีเขียว เพื่อวางแผนการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในกรุงเทพมหานคร

22060000/22060000

วัตถุประสงค์ของโครงการ

1. เพื่อผลักดันให้เกิดการสำรวจพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร 2. เพื่อจัดทำฐานข้อมูลพื้นที่สีเขียวตามที่กำหนดไว้ในแผนแม่บทพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2546 ให้ครอบคลุมพื้นที่ของกรุงเทพมหานคร

เป้าหมายของโครงการ

รวบรวมการเพิ่มพื้นที่สีเขียวและสำรวจพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้นของสำนักงานเขต 50 เขต ตามโปรแกรมเพื่อการจัดการข้อมูลสวนสาธารณะของกรุงเทพมหานคร

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
๒.๒ - มีพื้นที่สาธารณะ พื้นที่สีเขียวกระจายทั่วทุกพื้นที่
๒.๒.๑ กรุงเทพมหานครเป็นมหานครที่ร่มรื่นด้วยพรรณไม้ มีพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนเพียงพ%
๒.๒.๑.๑ พัฒนาพื้นที่สีเขียวสำหรับพักผ่อนหย่อนใจและสร้างความร่มรื่นเพิ่มขึ้นกระจาย ทั่วในพื้นที่

ผลการดำเนินงาน

(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2017-09-05)

100.00

5/9/2560 : สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเดือนตุลาคม 2559 - สิงหาคม 2560 ดำเนินการได้ 354 แห่ง คิดเป็นพื้นที่ 753 ไร่ - งาน 91.22 ตร.วา

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 90.00 (2017-08-21)

90.00

21/8/2560 : สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเดือนตุลาคม 2559 - กรกฎาคม 2560 ดำเนินการได้ 302 แห่ง คิดเป็นพื้นที่ 530 ไร่ 2 งาน 27.11 ตร.วา

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 80.00 (2017-07-19)

80.00

19/7/2560 : สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเดือนตุลาคม 2559 - มิถุนายน 2560 ดำเนินการได้ 275 แห่ง คิดเป็นพื้นที่ 436 ไร่ 1 งาน 59.83 ตร.วา

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2017-06-20)

60.00

20/6/2560 : สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเดือนตุลาคม 2559 - พฤษภาคม 2560 ดำเนินการได้ 260 แห่ง คิดเป็นพื้นที่ 404 ไร่ 3 งาน 11.66 ตร.วา

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2017-05-24)

70.00

24/5/2560 : สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเดือนตุลาคม 2559 - เมษายน 2560 ดำเนินการได้ 224 แห่ง คิดเป็นพื้นที่ 362 ไร่ 1 งาน 64.07 ตร.วา

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2017-04-25)

60.00

25/4/2560 : สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเดือนตุลาคม 2559 - มีนาคม 2560 ดำเนินการได้ 209 แห่ง คิดเป็นพื้นที่ 351 ไร่ - งาน 34.69 ตร.วา

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2017-03-20)

50.00

20/3/2560 : สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเดือน ตุลาคม 2559 - กุมภาพันธ์ 2560 ดำเนินการได้ 168 แห่ง คิดเป็นพื้นที่ 244 ไร่ 3 งาน 35.36 ตร.วา

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 40.00 (2017-02-21)

40.00

21/2/2560 : สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเดือน ตุลาคม 2559 - มกราคม 2560 ดำเนินการได้ 131 แห่ง คิดเป็นพื้นที่ 213 ไร่ - งาน 93.97 ตร.วา

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 30.00 (2017-01-23)

30.00

23/1/2560 : สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเดือน ตุลาคม - ธันวาคม 2559 ดำเนินการได้ 118 แห่ง คิดเป็นพื้นที่ 189 ไร่ - งาน 78.58 ตร.วา

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 20.00 (2016-12-28)

20.00

28/12/2559 : สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเดือน ตุลาคม - พฤศจิกายน 2560 ดำเนินการได้ 101 แห่ง คิดเป็นพื้นที่ 166 ไร่ 1 งาน 82.95 ตร.วา

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(11) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2016-11-22)

10.00

22/11/2559 : สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเดือนตุลาคม 2560 ดำเนินการได้ 10 แห่ง คิดเป็นพื้นที่ 35 ไร่ 3 งาน 41.02 ตร.วา

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(12) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 1.00 (2016-10-31)

1.00

31/10/2559 : อยู่ระหว่างขั้นตอนศึกษาโครงการ

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

แผนการดำเนินงานฯ

(ทดสอบ) แสดงขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ : 22000000-3609

(คลิก) ขั้นตอนการปฏิบัติงานของโครงการ : 22000000-3609

สนับสนุนตัวชี้วัดตามแผนฯ

รายละเอียดเกี่ยวกับตัวชี้วัด : 2200-0793

ตัวชี้วัด : จำนวนพื้นที่ที่จะนำไปพัฒนาเป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อม

ค่าเป้าหมาย แห่ง : 300

ผลงานที่ทำได้ แห่ง : 369

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(แห่ง)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
187.00

100 / 100
3
274.00

100 / 100
4
369.00

100 / 100

** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **