ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1
จากการดำเนินงานโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย นับตั้งแต่ปี พ.ศ.2549 เป็นต้นมา ในภาพรวม พบว่า สถานการณ์ความไม่ปลอดภัยด้านอาหารของกรุงเทพมหานครมีแนวโน้มลดลง โดยสถิติการปนเปื้อนทั้งสารเคมีอันตรายและเชื้อโรคที่ก่อให้เกิดโรคระบบทางเดินอาหารในรอบ 5 ปี พบว่า สถานการณ์ความไม่ปลอดภัยด้านอาหารในพื้นที่กรุงเทพมหานครมีแนวโน้มไม่คงที่ ในปี พ.ศ.2556 พบร้อยละ 2.4 และลดลงในปี พ.ศ.2556-2560 พบร้อยละ 1.9 และเพิ่มขึ้นในปี พ.ศ.2559 พบร้อยละ 2.6 และลดลงในปี 2560 พบร้อยละ 2.5 โดยสาเหตุหลักที่ทำให้พบอัตราการปนเปื้อนที่สูงขึ้นคือ การปนเปื้อนด้านจุลินทรีย์ในอาหาร สอดคล้องกับอัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันต่อประชากรแสนคนในกรุงเทพมหานคร ซึ่งพบว่ามีแนวโน้มไม่คงที่เช่นกัน โดยพบว่าในปี พ.ศ.2556–2560 พบอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนเท่ากับ 678.27,1015.15,378.27,1015.15 และเพิ่มขึ้น 1078.02 ในปี 2560 อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่าสถานการณ์ความปลอดภัยด้านอาหารและอัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันในกรุงเทพมหานคร จะมีแนวโน้มที่ไม่คงที่ก็ตามแต่เพื่อให้การดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัยในกรุงเทพมหานครมีความยั่งยืนและเกิดประโยชน์ต่อชาวกรุงเทพมหานครสูงสุด สำนักงานเขตบางรัก จึงได้จัดทำโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ 2566 ขึ้น ภายใต้แผนยุทธศาสตร์กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย เพื่อให้หน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนได้ตื่นตัวและตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องความปลอดภัยของอาหาร รวมทั้งเป็นการเสริมสร้างภาพลักษณ์และประชาสัมพันธ์งานด้านอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ทั้งนี้เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชนชาวกรุงเทพมหานคร ทั้งผู้พักอาศัย ผู้ประกอบการ รวมถึงนักท่องเที่ยว ที่จะได้รับการคุ้มครองสุขภาพจากการได้บริโภคอาหารที่สะอาดและปลอดภัย
50040400/50040400
1. เพื่อปรับปรุง ยกระดับมาตรฐานด้านสุขลักษณะการจำหน่ายอาหารในสถานประกอบการอาหาร 2. เพื่อตรวจสอบและเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในสถานประกอบการอาหาร 3. เพื่อตรวจสอบคุณภาพอาหารกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินและร้องเรียนด้านอาหาร 4. เพื่อสร้างเสริมประสบการณ์ และวิสัยทัศน์ด้านอาหารปลอดภัยให้กว้างไกลและเหมาะสมกับสถานการณ์ และพัฒนาบุคลากรผู้ปฏิบัติงานให้มีความรู้เพื่อคุณภาพงานด้านอาหารปลอดภัย 5. เพื่อพัฒนาความรู้ความเข้าใจ จิตสำนึกและความร่วมมือขององค์กรภาคเอกชน ผู้ประกอบการ และ ประชาชนทั่วไปในเรื่องอาหารปลอดภัย 6. เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค และสร้างความมั่นใจในการบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย
1. ร้อยละ 96 ของตัวอย่างอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนเชื้อโรค 2. ร้อยละ 98 ของตัวอย่างอาหารที่ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ 3. ร้อยละ 100 ของสถานประกอบการอาหารได้มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดี/เกรด C ตามกฎหมาย (ระดับ 3 ดาว) 4. ร้อยละ 20 ของสถานประกอบการอาหารได้มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด B (ระดับ 4 ดาว/Green Service) 5. ร้อยละ 10 ของสถานประกอบการอาหารได้มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีเลิศ/เกรด A (ระดับ 5 ดาว/Green Service Plus)
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-09-20)
20/09/2566 : 1. จัดทำแผนปฏิบัติงานและดำเนินการตรวจวิเคราะห์สารปนเปื้อน เชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำในสถานประกอบการร้านอาหาร แผงลอย มินิมาร์ท ซูเปอร์มาร์เก็ต และตลาด พื้นที่เขตบางรัก ประจำเดือน กันยายน 2566 จำนวน 122 ร้าน 2. รายงานผลการตรวจวิเคราะห์ให้กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย ในระบบสารสนเทศงานสุขาภิบาลอาหาร ประจำเดือน สิงหาคม และกันยายน 2566 จำนวน 245 ร้าน โดยแยกตามเกณฑ์ ดังนี้ - (Green Service Plus = 122 ร้าน) - (Green Service = 38 ร้าน) - (ระดับดี = 4 ร้าน) 3. ประชาสัมพันธ์องค์ความรู้เกี่ยวกับสุขาภิบาลอาหาร ให้แก่สถานประกอบการร้านอาหาร แผงลอย มินิมาร์ท ซูเปอร์มาร์เก็ต และตลาดในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ การรณรงค์ แจกสื่อประชาสัมพันธ์ เป็นต้น 4. รายงานสรุปผลการดำเนินงานโครงการสุขาภิบาลอาหาร ประจำปีงบประมาณ 2566
** ปัญหาของโครงการ :-
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 85.00 (2023-08-21)
21/08/2566 : 1. จัดทำแผนปฏิบัติงานและดำเนินการตรวจวิเคราะห์สารปนเปื้อน เชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำในสถานประกอบการร้านอาหาร แผงลอย มินิมาร์ท ซูเปอร์มาร์เก็ต และตลาด พื้นที่เขตบางรัก ประจำเดือน กันยายน 2566 จำนวน 70 ร้าน 2. รายงานผลการตรวจวิเคราะห์ให้กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย ในระบบสารสนเทศงานสุขาภิบาลอาหาร ประจำเดือน กรกฎาคม 2566 จำนวน 69 ร้าน โดยแยกตามเกณฑ์ ดังนี้ - (Green Service Plus = 22 ร้าน) - (Green Service = 38 ร้าน) - (ระดับดี = 4 ร้าน) 3. ดำเนินการจัดอบรม อย.น้อย ในสถานศึกษา ครั้งที่ 2/2566 (ในวันที่ 24 สิงหาคม 2566) 4. ประชาสัมพันธ์องค์ความรู้เกี่ยวกับสุขาภิบาลอาหาร ให้แก่สถานประกอบการร้านอาหาร แผงลอย มินิมาร์ท ซูเปอร์มาร์เก็ต และตลาดในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ การรณรงค์ แจกสื่อประชาสัมพันธ์ เป็นต้น เงินที่ใช้ไป
** ปัญหาของโครงการ :-
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 75.00 (2023-07-20)
20/07/2566 : 1. จัดทำแผนปฏิบัติงานและดำเนินการตรวจวิเคราะห์สารปนเปื้อน เชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำในสถานประกอบการร้านอาหาร แผงลอย มินิมาร์ท ซูเปอร์มาร์เก็ต และตลาด พื้นที่เขตบางรัก ประจำเดือน สิงหาคม 2566 จำนวน 60 ร้าน 2. รายงานผลการตรวจวิเคราะห์ให้กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย ในระบบสารสนเทศงานสุขาภิบาลอาหาร ประจำเดือนมิถุนายน 2566 จำนวน 68 ร้าน โดยแยกตามเกณฑ์ ดังนี้ - (Green Service Plus = 17 ร้าน) - (Green Service = 49 ร้าน) - (ระดับดี = 2 ร้าน) 3. ดำเนินการจัดอบรม อย.น้อย ในสถานศึกษา ครั้งที่ 1/2566 4. ดำเนินการจัดประชุมเครือข่ายสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน ครั้งที่ 2/2566 5. ประชาสัมพันธ์องค์ความรู้เกี่ยวกับสุขาภิบาลอาหาร ให้แก่สถานประกอบการร้านอาหาร แผงลอย มินิมาร์ท ซูเปอร์มาร์เก็ต และตลาดในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ การรณรงค์ แจกสื่อประชาสัมพันธ์ เป็นต้น
** ปัญหาของโครงการ :-
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2023-06-21)
21/06/2566 : 1. จัดทำแผนปฏิบัติงานและดำเนินการตรวจวิเคราะห์สารปนเปื้อน เชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำในสถานประกอบการร้านอาหาร แผงลอย มินิมาร์ท ซูเปอร์มาร์เก็ต และตลาด พื้นที่เขตบางรัก ประจำเดือน กรกฎาคม 2566 จำนวน 50 ร้าน 2. รายงานผลการตรวจวิเคราะห์ให้กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย ในระบบสารสนเทศงานสุขาภิบาลอาหาร ประจำเดือนพฤษภาคม 2566 จำนวน 58 ร้าน โดยแยกตามเกณฑ์ ดังนี้ - (Green Service Plus = 3 ร้าน) - (Green Service = 50 ร้าน) - (ระดับดี = 5 ร้าน) 4. ประชาสัมพันธ์องค์ความรู้เกี่ยวกับสุขาภิบาลอาหาร ให้แก่สถานประกอบการร้านอาหาร แผงลอย มินิมาร์ท ซูเปอร์มาร์เก็ต และตลาดในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ การรณรงค์ แจกสื่อประชาสัมพันธ์ เป็นต้น
** ปัญหาของโครงการ :-
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2023-05-22)
22/05/2566 : 1. จัดทำแผนปฏิบัติงานและดำเนินการตรวจวิเคราะห์สารปนเปื้อน เชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำในสถานประกอบการร้านอาหาร แผงลอย มินิมาร์ท ซูเปอร์มาร์เก็ต และตลาด พื้นที่เขตบางรัก ประจำเดือน มิถุนายน 2566 จำนวน 50 ร้าน 2. รายงานผลการตรวจวิเคราะห์ให้กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย ในระบบสารสนเทศงานสุขาภิบาลอาหาร ประจำเดือนเมษายน 2566 จำนวน 54 ร้าน โดยแยกตามเกณฑ์ ดังนี้ - (Green Service Plus = 3 ร้าน) - (Green Service = 48 ร้าน) - (ระดับดี = 3 ร้าน) 4. ประชาสัมพันธ์องค์ความรู้เกี่ยวกับสุขาภิบาลอาหาร ให้แก่สถานประกอบการร้านอาหาร แผงลอย มินิมาร์ท ซูเปอร์มาร์เก็ต และตลาดในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ การรณรงค์ แจกสื่อประชาสัมพันธ์ เป็นต้น
** ปัญหาของโครงการ :-
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 40.00 (2023-04-20)
20/04/2566 : 1. จัดทำแผนปฏิบัติงานและดำเนินการตรวจวิเคราะห์สารปนเปื้อน เชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำในสถานประกอบการร้านอาหาร แผงลอย มินิมาร์ท ซูเปอร์มาร์เก็ต และตลาด พื้นที่เขตบางรัก ประจำเดือน พฤษภาคม 2566 จำนวน 50 ร้าน 2. รายงานผลการตรวจวิเคราะห์ให้กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย ในระบบสารสนเทศงานสุขาภิบาลอาหาร ประจำเดือนมีนาคม 2566 จำนวน 74 ร้าน 3. ตรวจประเมินรับรองมาตรฐาน 74 ร้าน โดยแยกตามเกณฑ์ ดังนี้ - (Green Service Plus = 13 ร้าน) - (Green Service = 48 ร้าน) - (ระดับดี = 13 ร้าน) 4. ประชาสัมพันธ์องค์ความรู้เกี่ยวกับสุขาภิบาลอาหาร ให้แก่สถานประกอบการร้านอาหาร แผงลอย มินิมาร์ท ซูเปอร์มาร์เก็ต และตลาดในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ การรณรงค์ แจกสื่อประชาสัมพันธ์ เป็นต้น
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 30.00 (2023-03-21)
21/03/2566 : 1. จัดทำแผนปฏิบัติงานและดำเนินการตรวจวิเคราะห์สารปนเปื้อน เชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำในสถานประกอบการร้านอาหาร แผงลอย มินิมาร์ท ซูเปอร์มาร์เก็ต และตลาด พื้นที่เขตบางรัก ประจำเดือน เมษายน 2566 จำนวน 50 ร้าน 2. รายงานผลการตรวจวิเคราะห์ให้กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย ในระบบสารสนเทศงานสุขาภิบาลอาหาร ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566 จำนวน 79 ร้าน 3. ตรวจประเมินรับรองมาตรฐานสถานประกอบการด้านอาหารปลอดภัย ในสถานประกอบการร้านอาหาร แผงลอย มินิมาร์ท ซูเปอร์มาร์เก็ต และตลาด พื้นที่เขตบางรัก จำนวน 79 ร้าน โดยแยกตามเกณฑ์ ดังนี้ - (Green Service Plus = 19 ร้าน) - (Green Service = 40 ร้าน) - (ระดับดี = 20 ร้าน) 4. ประชาสัมพันธ์องค์ความรู้เกี่ยวกับสุขาภิบาลอาหาร ให้แก่สถานประกอบการร้านอาหาร แผงลอย มินิมาร์ท ซูเปอร์มาร์เก็ต และตลาดในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ การรณรงค์ แจกสื่อประชาสัมพันธ์ เป็นต้น
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 20.00 (2023-02-21)
21/02/2566 : ดำเนินการดังนี้ 1. จัดทำแผนปฏิบัติงานและดำเนินการตรวจวิเคราะห์สารปนเปื้อน เชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำในสถานประกอบการร้านอาหาร แผงลอย มินิมาร์ท ซูเปอร์มาร์เก็ต และตลาด พื้นที่เขตบางรัก ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2566 2. รายงานผลการตรวจวิเคราะห์ให้กองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย ในระบบสารสนเทศงานสุขาภิบาลอาหาร ประจำเดือนมกราคม 2566 3. ตรวจประเมินรับรองมาตรฐานสถานประกอบการด้านอาหารปลอดภัย ในสถานประกอบการร้านอาหาร แผงลอย มินิมาร์ท ซูเปอร์มาร์เก็ต และตลาด พื้นที่เขตบางรัก จำนวน 77 ร้าน โดยแยกตามเกณฑ์ ดังนี้ - (Green Service Plus = 21 ร้าน) - (Green Service = 53 ร้าน ) - (ระดับดี = 3 ร้าน) 4. ประชาสัมพันธ์องค์ความรู้เกี่ยวกับสุขาภิบาลอาหาร ให้แก่สถานประกอบการร้านอาหาร แผงลอย มินิมาร์ท ซูเปอร์มาร์เก็ต และตลาดในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ การรณรงค์ แจกสื่อประชาสัมพันธ์ เป็นต้น
** ปัญหาของโครงการ :-
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2023-01-10)
10/01/2566 : 1.ดำเนินการจัดทำแผนปฏิบัติงงานและดำเนินการตรวจวิเคราะห์สารปนเปื้อน เชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำในสถานประกอบการร้านอาหาร ซุปเปอร์มาเก็ต แผงลอย และมินิมาร์ท พื้นที่เขตบางรัก ประจำเดือนธันวาคม 2565 จำนวน 50 ร้าน 2.รายงานผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารด้านกายภาพ ชีวภาพ และเคมี ในระบบสารสนเทศงานสุขาภิบาลอาหาร เพื่อให้กองสุขาภิบาลสำนักอนามัย ประจำเดือนธันวาคม 2565 ทราบ
** ปัญหาของโครงการ :-
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : ร้อยละของสถานประกอบการอาหารได้มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร
ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ :
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **