ความคืบหน้าโครงการ/กิจกรรม

Back Home
FusionCharts will render here

(P078)โครงการบูรณาการดำเนินงานด้านความปลอดภัยจากอาชญากรรมเชิงพื้นที่ (2566) : 50130000-3778

สำนักงานเขตมีนบุรี : (2566)

100

ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100

ฝ่ายเทศกิจ

ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1

หลักการและเหตุผล

ด้วยในปัจจุบันปัญหาอาชญากรรมเป็นปัญหาสำคัญประการหนึ่งที่ส่งผลกระทบต่อการรักษาความสงบเรียบร้อยของสังคม โดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานครมีเหตุอาชญากรรมเกิดขึ้นเป็นจำนวนมาก ทั้งนี้ สาเหตุส่วนหนึ่งมาจากปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมที่เป็นจุดล่อแหลม จุดเสี่ยง ทำให้ผู้กระทำผิดสามารถลงมือก่ออาชญากรรมได้โดยง่าย เช่น พื้นที่รกร้าง พื้นที่เปลี่ยว อาคารโกดังของเอกชนที่ถูกปล่อยทิ้งร้าง พื้นที่ใต้สะพานลอย หรือบริเวณป้ายรถประจำทางที่แสงไฟฟ้าส่องสว่างไม่ทั่วถึง ดังนั้น เพื่อเสริมสร้างความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ซึ่งเป็นภารกิจหนึ่งของกรุงเทพมหานคร ประกอบกับสถิติการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่เขตมีนบุรีในปัจจุบันยังคงสูงอยู่และที่กองบัญชาการตำรวจนครบาลได้มีหนังสือที่ ตช 0015.132/247 ลงวันที่ 10 มกราคม 2560 แจ้งผลการสำรวจข้อมูลจุดเสี่ยงจุดล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่เขตมีนบุรี ที่มีสภาพพื้นที่เป็นจุดเสี่ยงอันตราย อยู่หลายจุด เช่น ซอยเปลี่ยว อาคารร้าง ป้ายรถโดยสารประจำทาง ที่รกร้างว่างเปล่า จุดเหล่านี้กลายเป็นแหล่งมั่วสุมของเหล่าอาชญากร ถึงแม้ว่าจะมีเจ้าหน้าที่ตำรวจได้ออกตรวจตราอยู่เป็นประจำ แต่ปัญหาก็ยังไม่หมดไป ในการนี้ เพื่อเป็นการป้องปรามอย่างเป็นรูปธรรมและบังเกิดผลอย่างมีประสิทธิภาพ ตามนโยบายของผู้บริหารกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตมีนบุรี โดยฝ่ายเทศกิจจึงได้จัดทำโครงการบูรณาการผลการดำเนินงานด้านความปลอดภัยจากอาชญากรรมเชิงพื้นที่เขตมีนบุรีขึ้น

50130900/50130900

วัตถุประสงค์ของโครงการ

2.1 เพื่อให้ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินมากยิ่งขึ้น 2.2 เพื่อกระตุ้นเตือนให้ประชาชนตระหนักถึงภัยจากอาชญากรรม และให้ประชาชนระวังภัยที่อาจเกิดขึ้นแก่ตนเองและผู้อื่น 2.3 เพื่อเป็นการป้องปรามการก่ออาชญากรรม และแก้ไขปัญหาแบบบูรณาการร่วมกันของส่วนราชการต่างๆ ในพื้นที่เขตมีนบุรี

เป้าหมายของโครงการ

3.1 เฝ้าระวังและตรวจตราไม่ให้มีอาชญากรรมเกิดขึ้นในบริเวณจุดเสี่ยงจุดล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่เขตมีนบุรี จำนวน 7 จุด ดังนี้ 3.1.1 หน้าวิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี 3.1.2 สวนเฉลิมพระเกียรติ ร.9 มีนบุรี 3.1.3 โรงเรียนมีนบุรี 3.1.4 โรงเรียนสุเหร่าทรายกองดิน 3.1.5 ทางเดินริมคลองเจ๊ก 3.1.6 ทางเดินเลียบคลองบึงขวาง 3.1.7 ปากซอยราษฎร์อุทิศ 7/1 โดยจัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจตราวันละ 2 ครั้ง/วัน/จุด 3.2 เปลี่ยนพื้นที่จุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมให้เป็นพื้นที่ปลอดภัยแก่ประชาชน 3.3 สร้างความเชื่อมั่นในการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่เทศกิจให้แก่ประชาชน

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
๑.๑ - ปลอดมลพิษ
๑.๑.๑ แหล่งน้ำสาธารณะทั้งแม่น้ำสายหลักและคูคลองต่างๆ มีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภ%
๑.๑.๒.๑ ลดและควบคุมปริมาณมูลฝอยที่แหล่งกำเนิดและเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการขยะมูลฝอยตั้งแต่แหล่งกำเนิดจนถึงการกำจัดอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ

ผลการดำเนินงาน

(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-09-05)

100.00

05/09/2566 : 1. เจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจจุดเสี่ยงภัยที่กำหนด และบันทึกเหตุการณ์ขณะตรวจลงในสมุดประจำจุด วันละ 3 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจเหตุการณ์ขณะตรวจปกติ 2. เจ้าหน้าที่ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ดำเนินการปรับสภาพแวดล้อมบริเวณจุดเสี่ยงฯ เช่น ทำความสะอาดพื้นที่ ตัดแต่งต้นไม้ เป็นต้น และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 3. เจ้าหน้าที่ฝ่ายโยธาตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างและกล้อง cctv และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 4. เจ้าหน้าที่ฝ่ายเทศกิจออกตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณจุดตรวจเสี่ยง วันละ 1 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจไฟฟ้าใช้การได้เป็นปกติ 5. เจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจสอบกล้อง cctv บริเวณจุดเสี่ยง วันละ 2 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจใช้การได้ปกติ 6. สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน 7. รายงานผลการดำเนินการให้ผู้อำนวยการเขต และสำนักเทศกิจทราบ ภายในวันที่ 5 ของทุกเดือน

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 95.00 (2023-08-22)

95.00

22/08/2566 : 1. เจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจจุดเสี่ยงภัยที่กำหนด และบันทึกเหตุการณ์ขณะตรวจลงในสมุดประจำจุดวันละ 3 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจเหตุการณ์ขณะตรวจปกติ 2. เจ้าหน้าที่ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ดำเนินการปรับสภาพแวดล้อมบริเวณจุดเสี่ยงฯ เช่น ทำความสะอาดพื้นที่ ตัดแต่งต้นไม้ เป็นต้น และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 3. เจ้าหน้าที่ฝ่ายโยธาตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างและกล้อง cctv และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 4. เจ้าหน้าที่ฝ่ายเทศกิจออกตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณจุดตรวจเสี่ยง วันละ 1 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจไฟฟ้าใช้การได้เป็นปกติ 5. เจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจสอบกล้อง cctv บริเวณจุดเสี่ยง วันละ 2 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจใช้การได้ปกติ 6. ฝ่ายเทศกิจได้ทำหนังสือประสาน สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน ตามหนังสือสำนักงานเขตมีนบุรี ที่ 5209/5701 ลงวันที่ 22 สิงหาคม 2566 7. สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน 8. รายงานผลการดำเนินการให้ผู้อำนวยการเขต และสำนักเทศกิจทราบ ภายในวันที่ 5 ของทุกเดือน

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 82.00 (2023-07-20)

82.00

20/07/2566 : 1. เจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจจุดเสี่ยงภัยที่กำหนด และบันทึกเหตุการณ์ขณะตรวจลงในสมุดประจำจุด วันละ 3 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจเหตุการณ์ขณะตรวจปกติ 2. เจ้าหน้าที่ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ดำเนินการปรับสภาพแวดล้อมบริเวณจุดเสี่ยงฯ เช่น ทำความสะอาดพื้นที่ ตัดแต่งต้นไม้ เป็นต้น และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 3. เจ้าหน้าที่ฝ่ายโยธาตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างและกล้อง cctv และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 4. เจ้าหน้าที่ฝ่ายเทศกิจออกตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณจุดตรวจเสี่ยง วันละ 1 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจไฟฟ้าใช้การได้เป็นปกติ 5. เจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจสอบกล้อง cctv บริเวณจุดเสี่ยง วันละ 2 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจใช้การได้ปกติ 6. ฝ่ายเทศกิจได้ทำหนังสือประสาน สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน ตามหนังสือสำนักงานเขตมีนบุรี ที่ 5209/4941 ลงวันที่ 20 กรกฎาคม 2566 7. สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน 8. รายงานผลการดำเนินการให้ผู้อำนวยการเขต และสำนักเทศกิจทราบ ภายในวันที่ 5 ของทุกเดือน

** ปัญหาของโครงการ :-

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 75.00 (2023-06-20)

75.00

20/06/2566 : 1. เจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจจุดเสี่ยงภัยที่กำหนด และบันทึกเหตุการณ์ขณะตรวจลงในสมุดประจำจุด วันละ 3 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจเหตุการณ์ขณะตรวจปกติ 2. เจ้าหน้าที่ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ดำเนินการปรับสภาพแวดล้อมบริเวณจุดเสี่ยงฯ เช่น ทำความสะอาดพื้นที่ ตัดแต่งต้นไม้ เป็นต้น และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 3. เจ้าหน้าที่ฝ่ายโยธาตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างและกล้อง cctv และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 4. เจ้าหน้าที่ฝ่ายเทศกิจออกตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณจุดตรวจเสี่ยง วันละ 1 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจไฟฟ้าใช้การได้เป็นปกติ 5. เจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจสอบกล้อง cctv บริเวณจุดเสี่ยง วันละ 2 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจใช้การได้ปกติ 6. ฝ่ายเทศกิจได้ทำหนังสือประสาน สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน ตามหนังสือสำนักงานเขตมีนบุรี ที่ 5209/3928 ลงวันที่ 13 มิถุนายน 2566 7. สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน 8. รายงานผลการดำเนินการให้ผู้อำนวยการเขต และสำนักเทศกิจทราบ ภายในวันที่ 5 ของทุกเดือน

** ปัญหาของโครงการ :-

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2023-05-20)

70.00

20/05/2566 : 1. เจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจจุดเสี่ยงภัยที่กำหนด และบันทึกเหตุการณ์ขณะตรวจลงในสมุดประจำจุด วันละ 3 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจเหตุการณ์ขณะตรวจปกติ 2. เจ้าหน้าที่ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ดำเนินการปรับสภาพแวดล้อมบริเวณจุดเสี่ยงฯ เช่น ทำความสะอาดพื้นที่ ตัดแต่งต้นไม้ เป็นต้น และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 3. เจ้าหน้าที่ฝ่ายโยธาตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างและกล้อง cctv และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 4. เจ้าหน้าที่ฝ่ายเทศกิจออกตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณจุดตรวจเสี่ยง วันละ 1 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจไฟฟ้าใช้การได้เป็นปกติ 5. เจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจสอบกล้อง cctv บริเวณจุดเสี่ยง วันละ 2 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจใช้การได้ปกติ 6. ฝ่ายเทศกิจได้ทำหนังสือประสาน สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน ตามหนังสือสำนักงานเขตมีนบุรี ที่ 5209/3259 ลงวันที่ 18 พฤษภาคม 2566 7. สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน 8. รายงานผลการดำเนินการให้ผู้อำนวยการเขต และสำนักเทศกิจทราบ ภายในวันที่ 5 ของทุกเดือน

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2023-04-21)

60.00

21/04/2566 : 1. เจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจจุดเสี่ยงภัยที่กำหนด และบันทึกเหตุการณ์ขณะตรวจลงในสมุดประจำจุด วันละ 3 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจเหตุการณ์ขณะตรวจปกติ 2. เจ้าหน้าที่ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ดำเนินการปรับสภาพแวดล้อมบริเวณจุดเสี่ยงฯ เช่น ทำความสะอาดพื้นที่ ตัดแต่งต้นไม้ เป็นต้น และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 3. เจ้าหน้าที่ฝ่ายโยธาตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างและกล้อง cctv และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 4. เจ้าหน้าที่ฝ่ายเทศกิจออกตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณจุดตรวจเสี่ยง วันละ 1 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจไฟฟ้าใช้การได้เป็นปกติ 5. เจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจสอบกล้อง cctv บริเวณจุดเสี่ยง วันละ 2 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจใช้การได้ปกติ 6. ฝ่ายเทศกิจได้ทำหนังสือประสาน สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน ตามหนังสือสำนักงานเขตมีนบุรี ที่ 5209/2627 ลงวันที่ 19 เมษายน 2566 7. สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน 8. รายงานผลการดำเนินการให้ผู้อำนวยการเขต และสำนักเทศกิจทราบ ภายในวันที่ 5 ของทุกเดือน

** ปัญหาของโครงการ :-

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2023-03-20)

50.00

20/03/2566 : 1. เจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจจุดเสี่ยงภัยที่กำหนด และบันทึกเหตุการณ์ขณะตรวจลงในสมุดประจำจุด วันละ 3 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจเหตุการณ์ขณะตรวจปกติ 2. เจ้าหน้าที่ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ดำเนินการปรับสภาพแวดล้อมบริเวณจุดเสี่ยงฯ เช่น ทำความสะอาดพื้นที่ ตัดแต่งต้นไม้ เป็นต้น และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 3. เจ้าหน้าที่ฝ่ายโยธาตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างและกล้อง cctv และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 4. เจ้าหน้าที่ฝ่ายเทศกิจออกตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณจุดตรวจเสี่ยง วันละ 1 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจไฟฟ้าใช้การได้เป็นปกติ 5. เจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจสอบกล้อง cctv บริเวณจุดเสี่ยง วันละ 2 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจใช้การได้ปกติ 6. ฝ่ายเทศกิจได้ทำหนังสือประสาน สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน ตามหนังสือสำนักงานเขตมีนบุรี ที่ 5209/1729 ลงวันที่ 9 มีนาคม 2566 7. สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน 8. รายงานผลการดำเนินการให้ผู้อำนวยการเขต และสำนักเทศกิจทราบ ภายในวันที่ 5 ของทุกเดือน

** ปัญหาของโครงการ :-

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 42.00 (2023-02-20)

42.00

20/02/2566 : 1. เจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจจุดเสี่ยงภัยที่กำหนด และบันทึกเหตุการณ์ขณะตรวจลงในสมุดประจำจุด วันละ 3 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจเหตุการณ์ขณะตรวจปกติ 2. เจ้าหน้าที่ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ดำเนินการปรับสภาพแวดล้อมบริเวณจุดเสี่ยงฯ เช่น ทำความสะอาดพื้นที่ ตัดแต่งต้นไม้ เป็นต้น และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 3. เจ้าหน้าที่ฝ่ายโยธาตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างและกล้อง cctv และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 4. เจ้าหน้าที่ฝ่ายเทศกิจออกตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณจุดตรวจเสี่ยง วันละ 1 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจไฟฟ้าใช้การได้เป็นปกติ 5. เจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจสอบกล้อง cctv บริเวณจุดเสี่ยง วันละ 2 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจใช้การได้ปกติ 6. ฝ่ายเทศกิจได้ทำหนังสือประสาน สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน ตามหนังสือสำนักงานเขตมีนบุรี ที่ 5209/1235 ลงวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2566 7. สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน 8. รายงานผลการดำเนินการให้ผู้อำนวยการเขต และสำนักเทศกิจทราบ ภายในวันที่ 5 ของทุกเดือน

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 31.00 (2023-01-23)

31.00

23/01/2566 : 1. เจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจจุดเสี่ยงภัยที่กำหนด และบันทึกเหตุการณ์ขณะตรวจลงในสมุดประจำจุด วันละ 3 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจเหตุการณ์ขณะตรวจปกติ 2. เจ้าหน้าที่ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ดำเนินการปรับสภาพแวดล้อมบริเวณจุดเสี่ยงฯ เช่น ทำความสะอาดพื้นที่ ตัดแต่งต้นไม้ เป็นต้น และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 3. เจ้าหน้าที่ฝ่ายโยธาตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างและกล้อง cctv และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 4. เจ้าหน้าที่ฝ่ายเทศกิจออกตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณจุดตรวจเสี่ยง วันละ 1 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจไฟฟ้าใช้การได้เป็นปกติ 5. เจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจสอบกล้อง cctv บริเวณจุดเสี่ยง วันละ 2 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจใช้การได้ปกติ 6. ฝ่ายเทศกิจได้ทำหนังสือประสาน สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน ตามหนังสือสำนักงานเขตมีนบุรี ที่ 5209/447 ลงวันที่ 18 มกราคม 2566 7. สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน 8. รายงานผลการดำเนินการให้ผู้อำนวยการเขต และสำนักเทศกิจทราบ ภายในวันที่ 5 ของทุกเดือน

** ปัญหาของโครงการ :-

** อุปสรรคของโครงการ :-

------------------&&&--------------------

(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 23.00 (2022-12-20)

23.00

20/12/2565 : 1. เจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจจุดเสี่ยงภัยที่กำหนด และบันทึกเหตุการณ์ขณะตรวจลงในสมุดประจำจุดวันละ 3 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจเหตุการณ์ขณะตรวจปกติ 2. เจ้าหน้าที่ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ดำเนินการปรับสภาพแวดล้อมบริเวณจุดเสี่ยงฯ เช่น ทำความสะอาดพื้นที่ ตัดแต่งต้นไม้ เป็นต้น และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 3. เจ้าหน้าที่ฝ่ายโยธาตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างและกล้อง cctv และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 4. เจ้าหน้าที่ฝ่ายเทศกิจออกตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณจุดตรวจเสี่ยง วันละ 1 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจไฟฟ้าใช้การได้เป็นปกติ 5. เจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจสอบกล้อง cctv บริเวณจุดเสี่ยง วันละ 2 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจใช้การได้ปกติ 6. ฝ่ายเทศกิจได้ทำหนังสือประสาน สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน ตามหนังสือสำนักงานเขตมีนบุรี ที่ 5209/8096 ลงวันที่ 14 ธันวาคม 2565 7. สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน 8. รายงานผลการดำเนินการให้ผู้อำนวยการเขต และสำนักเทศกิจทราบ ภายในวันที่ 5 ของทุกเดือน

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(11) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 15.00 (2022-11-22)

15.00

22/11/2565 : ตุลาคม 2565 1. สำรวจจุดเสี่ยงในพื้นที่เขตมีนบุรี จำนวน 7 จุด ดังนี้ 1. สวนเฉลิมพระเกียรติ ร. 9 มีนบุรี 2. หน้าโรงเรียนมีนบุรี 3. หน้าวิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี 4. ทางเดินริมคลองเจ๊ก 5. ปากซอยราษฎร์อุทิศ 7/1 6. หน้าโรงเรียนสุเหร่าทรายกองดิน 7. ทางเดินเลียบคลองบึงขวาง 2. จัดทำบัญชีจุดเสี่ยง/จัดทำโครงการ/จัดคำสั่งมอบหมายหน้าที่ในการปฏิบัติงานตามโครงการ 3. เจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจจุดเสี่ยงภัยที่กำหนด และบันทึกเหตุการณ์ขณะตรวจลงในสมุดประจำจุด วันละ 3 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจเหตุการณ์ขณะตรวจปกติ 4. เจ้าหน้าที่ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ดำเนินการปรับสภาพแวดล้อมบริเวณจุดเสี่ยงฯ เช่น ทำความสะอาดพื้นที่ ตัดแต่งต้นไม้ เป็นต้น และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 5. เจ้าหน้าที่ฝ่ายโยธาตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างและกล้อง cctv และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 6. เจ้าหน้าที่ฝ่ายเทศกิจออกตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณจุดตรวจเสี่ยง วันละ 1 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจไฟฟ้าใช้การได้เป็นปกติ 7. เจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจสอบกล้อง cctv บริเวณจุดเสี่ยง วันละ 2 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจใช้การได้ปกติ 8. ฝ่ายเทศกิจได้ทำหนังสือประสาน สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน ตามหนังสือสำนักงานเขตมีนบุรี ที่ 5209/6850 ลงวันที่ 26 ตุลาคม 2565 9. สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน 10. รายงานผลการดำเนินการให้ผู้อำนวยการเขต และสำนักเทศกิจทราบ ภายในวันที่ 5 ของทุกเดือน ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- พฤศจิกายน 2565 1. เจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจจุดเสี่ยงภัยที่กำหนด และบันทึกเหตุการณ์ขณะตรวจลงในสมุดประจำจุด วันละ 3 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจเหตุการณ์ขณะตรวจปกติ 2. เจ้าหน้าที่ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ดำเนินการปรับสภาพแวดล้อมบริเวณจุดเสี่ยงฯ เช่น ทำความสะอาดพื้นที่ ตัดแต่งต้นไม้ เป็นต้น และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 3. เจ้าหน้าที่ฝ่ายโยธาตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างและกล้อง cctv และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบทุกเดือน 4. เจ้าหน้าที่ฝ่ายเทศกิจออกตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณจุดตรวจเสี่ยง วันละ 1 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจไฟฟ้าใช้การได้เป็นปกติ 5. เจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจสอบกล้อง cctv บริเวณจุดเสี่ยง วันละ 2 ครั้ง ต่อจุด ผลการตรวจใช้การได้ปกติ 6. ฝ่ายเทศกิจได้ทำหนังสือประสาน สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน ตามหนังสือสำนักงานเขตมีนบุรี ที่ 5209/7261 ลงวันที่ 9 พฤศจิกายน 2565 7. สน.มีนบุรี รายงานผลการเกิดอาชญากรรมบริเวณจุดเสี่ยงภัย เป็นประจำทุกเดือน 8. รายงานผลการดำเนินการให้ผู้อำนวยการเขต และสำนักเทศกิจทราบ ภายในวันที่ 5 ของทุกเดือน

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

แผนการดำเนินงานฯ

ขั้นตอน 1
:1. สำรวจพื้นที่เสี่ยง/ จัดทำบัญชี
:5.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 2
:2. ขออนุมัติโครงการ
:5.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 3
:3. จัดทำคำสั่งมอบหมาย หน้าที่การปฏิบัติงาน
:5.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 4
:4. จัดทำสมุดลงลายมือชื่อและติดตั้งตู้เขียว
:15.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 5
:5. จัดทำหนังสือแจ้งฝ่ายที่เกี่ยวข้อง และให้รายงานผลการแก้ไขปัญหาจุดเสี่ยง
:10.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 6
:6. เจ้าหน้าที่ปฏิบัติหน้าที่ตรวจจุดเสี่ยง (ตู้เขียว) และรายงานสถานการณ์ขณะตรวจพร้อมลงลายมือชื่อในสมุดตรวจ
:20.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 7
:7. ฝ่ายโยธา ตรวจสอบไฟฟ้า แสงสว่าง บริเวณจุดเสี่ยงภัย และรายงานผลให้ฝ่ายเทศกิจทราบ
:10.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 8
:8. รายงานผลการปฏิบัติงาน ให้ผู้อำนวยการเขตและสำนักเทศกิจทราบทุกเดือน
:30.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00

(ทดสอบ) แสดงขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ : 50130000-3778

(คลิก) ขั้นตอนการปฏิบัติงานของโครงการ : 50130000-3778

สนับสนุนตัวชี้วัดตามแผนฯ

รายละเอียดเกี่ยวกับตัวชี้วัด : 5013-6541

ตัวชี้วัด : 2566 ร้อยละของพื้นที่เสี่ยงภัยที่ได้รับการลดเงื่อนไขความล่อแหลมต่อการก่ออาชญากรรม

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00

100 / 100
2
100.00

0 / 0
3
100.00

0 / 0
4
100.00

0 / 0

** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **