ความคืบหน้าโครงการ/กิจกรรม

Back Home
FusionCharts will render here

โครงการพัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์คลองสายหลักในพื้นที่เขตมีนบุรี 2566 (โครงการตามตัวชี้วัด ปี 2566) : 50130000-3907

สำนักงานเขตมีนบุรี : (2566)

100

ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100

ฝ่ายโยธา

ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1

หลักการและเหตุผล

เขตมีนบุรี มีพื้นที่โดยรวม 63.645 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยแขวงมีนบุรีและแขวงแสนแสบมีคลอง ลำรางทั้งหมด 62 คลอง รวมความยาว 103,246 เมตร โดยอยู่ในความรับผิดชอบของสำนักงาน- เขตมีนบุรี 51 คลอง ความยาว 57,946 เมตร อยู่ในความดูแลของสำนักการระบายน้ำ จำนวน 11 คลอง ความยาว 45,300 เมตร สภาพพื้นที่โดยทั่วไปของเขตมีนบุรีเป็นพื้นที่รับน้ำของกรุงเทพมหานครฝั่งตะวันออกช่วงฤดูฝนทำให้ประสบกับสภาวะน้ำท่วมขังในพื้นที่ จากการสำรวจพื้นที่ ปัญหาส่วนหนึ่งเกิดจากสภาพการระบายน้ำที่มีอยู่ตามธรรมชาติ ซึ่งบางจุดมีวัชพืชปกคลุมกีดขวางทางน้ำไหล สำนักงานเขตมีนบุรีจึงได้น้อม นำศาสตร์พระราชามาเป็นตัวอย่างในการดูแลและจัดการสิ่งแวดล้อมผนวกกับการพัฒนาสังคมและส่งเสริมคุณภาพชีวิตของประชาชน ปัญหาหนึ่งที่ถูกร้องเรียนจากประชาชนและจากสื่อมวลชนอยู่เนืองๆ คือปัญหาการระบายน้ำไหลไม่สะดวก ภูมิทัศน์ไม่สวยงาม ประชาชนมีการรุกล้ำพื้นที่ริมคลอง ทำให้น้ำคูคลองในพื้นที่เกิดการเน่าเสีย ซึ่งสาเหตุเกิดจากประชาชนทิ้งขยะ และของเสียลงสู่คู คลอง เพื่อให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดเจรจาตกลงการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปี 2565 สำนักงานเขตมีนบุรีจึงได้ดำเนินการจัดทำแผนการพัฒนาและปรับปรุงภูมิทัศน์คลองสายหลักในพื้นที่เขตมีนบุรี โดยการนำศาสตร์พระราชามาปรับใช้ในการปรับปรุงสภาพริมคลอง สามารถระบายน้ำได้ดี ภูมิทัศน์ริมคลองร่มรื่น สวยงาม สะอาด ชุมชนที่อยู่อาศัยริมคลองเกิดความตระหนักในการรักษาคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำสาธารณะและเป็นการเฝ้าระวังปัญหามลภาวะทางน้ำในพื้นที่เขตมีนบุรีอีกทางหนึ่ง

50130300/50130300

วัตถุประสงค์ของโครงการ

2.1 เพื่อปรับปรุงสภาพพื้นที่ ทางเดินริมคลอง ให้มีความระเบียบเรียบร้อย สวยงาม ตามความเหมาะสมของพื้นที่ 2.2 เพื่อพัฒนาและฟื้นฟูคลองปรับปรุงภูมิทัศน์ในพื้นที่โดยการดูแลสภาพคู คลองให้สะอาด ไม่มี และตัดแต่งต้นไม้ 2.3 เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวและเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจในพื้นที่เขตมีนบุรี 2.4 รักษาสภาพและบำรุงรักษาอุปกรณ์ในความรับผิดชอบบริเวณเป็นสถานที่พักผ่อนริมคลอง จุดชมวิวทิวทัศน์/จุดเช็คอิน (Check in) ป้ายอำนวยความสะดวกแก่ผู้มาเยือน และป้ายประดับต่าง ๆ สะพาน ข้ามคลอง ไฟฟ้าส่องสว่างและราวกันตกริมคลอง ให้มีความสวยงามและให้พร้อมใช้งาน 2.5 เพื่อเพิ่มความปลอดภัยให้กับประชาชนและชุมชนที่อาศัยบริเวณคลอง 2.6 เพื่อลดปริมาณขยะในคลอง

เป้าหมายของโครงการ

ปรับปรุงภูมิทัศน์คลองสายหลักในพื้นที่เขตมีนบุรี จำนวน 2 คลอง คือ 1. คลองแสนแสบ 2. คลองสองต้นนุ่น

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****%
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****

ผลการดำเนินงาน

(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-09-25)

100.00

25/09/2566 : มีการปรับปรุงภูมิทัศน์ โดยการตัดแต่งกิ่งไม้ เก็บขยะ วัชพืช และบำรุงรักษาจุดเช็คอิน

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 40.00 (2023-08-28)

40.00

28/08/2566 : มีการปรับปรุงภูมิทัศน์ โดยการตัดแต่งกิ่งไม้ เก็บขยะ วัชพืช และบำรุงรักษาจุดเช็คอิน

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 20.00 (2023-07-26)

20.00

26/07/2566 : มีการปรับปรุงภูมิทัศน์ โดยการตัดแต่งกิ่งไม้ เก็บขยะ วัชพืช และบำรุงรักษาจุดเช็คอิน

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 20.00 (2023-06-27)

20.00

27/06/2566 : มีการปรับปรุงภูมิทัศน์ โดยการตัดแต่งกิ่งไม้ เก็บขยะ วัชพืช และบำรุงรักษาจุดเช็คอิน

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 15.00 (2023-05-26)

15.00

26/05/2566 : อยู่ระหว่างดำเนินการ

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

แผนการดำเนินงานฯ

ขั้นตอน 1
:1. เขียนโครงการเสนอขออนุมัติ
:5.00%
เริ่มต้น :2023-04-01 00:00:00
สิ้นสุด :2023-04-01 00:00:00
ขั้นตอน 2
:2.1 บำรุงรักษาสภาพจุดเช็คอิน (Check in) (สะพานข้ามคลองสองต้นนุ่น ซอยร่มเกล้า 6 ถนนร่มเกล้า)
:15.00%
เริ่มต้น :2023-05-01 00:00:00
สิ้นสุด :2023-05-01 00:00:00
ขั้นตอน 3
:2.2 ตรวจสอบ ซ่อมแซม ราวกันตก ทางเท้าริมคลอง สะพานคนเดินข้ามคลอง ไฟฟ้าส่องสว่างริมคลอง
:15.00%
เริ่มต้น :2023-05-01 00:00:00
สิ้นสุด :2023-05-01 00:00:00
ขั้นตอน 4
:2.3 บริหารจัดการขยะอย่างเป็นระบบในพื้นที่ตามแนวคลองเพื่อไม่ให้ประชาชนทิ้งขยะลงคลอง เช่น การกำหนดจุดทิ้งขยะ นัดทิ้ง - นัดเก็บขยะชิ้นใหญ่ การเก็บขนขยะ และการตั้งจุด “ทิ้ง จับ ปรับ” เป็นต้น
:15.00%
เริ่มต้น :2023-05-01 00:00:00
สิ้นสุด :2023-05-01 00:00:00
ขั้นตอน 5
:2.4 รณรงค์ประชาสัมพันธ์สร้างความรู้ความเข้าใจและสร้างความตระหนักรู้ถึงความสำคัญและให้เกิดการมีส่วนร่วมของประชาชนและสถานประกอบการในการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมตามแนวคลอง
:15.00%
เริ่มต้น :2023-05-01 00:00:00
สิ้นสุด :2023-05-01 00:00:00
ขั้นตอน 6
:2.5 สร้างภาคีเครือข่าย และส่งเสริมกิจกรรมให้ประชาชนในพื้นที่มีส่วนร่วมในการพัฒนาคลอง ผ่านระบบเครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Network)
:15.00%
เริ่มต้น :2023-05-01 00:00:00
สิ้นสุด :2023-05-01 00:00:00
ขั้นตอน 7
:2.6 ปรับปรุงภูมิทัศน์ โดยตัดแต่งกิ่งไม้ ตกแต่งไม้ดอกไม้ประดับ เก็บขยะริมคลอง
:20.00%
เริ่มต้น :2023-05-01 00:00:00
สิ้นสุด :2023-05-01 00:00:00

(ทดสอบ) แสดงขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ : 50130000-3907

(คลิก) ขั้นตอนการปฏิบัติงานของโครงการ : 50130000-3907

สนับสนุนตัวชี้วัดตามแผนฯ

รายละเอียดเกี่ยวกับตัวชี้วัด : 5013-6553

ตัวชี้วัด : ร้อยละความสำเร็จของคลองในพื้นที่ีกรุงเทพมหานครได้รับการปรับภูมิทัศน์เพื่อสร้างอัตลักษณ์ให้กับพื้นที่ (ตัวชี้วัดเจรจา ปี 2566 องค์ประกอบที่ 1)

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome)

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

0 / 0
2
5.00

0 / 0
3
20.00

0 / 0
4
100.00

0 / 0

** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **