ความคืบหน้าโครงการ/กิจกรรม

Back Home
FusionCharts will render here

พยากรณ์ แจ้งเตือน ป้องกันฝุ่น PM2.5 : 50290000-7161

สำนักงานเขตสาทร : (2566)

100

ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100

ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล

ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1

หลักการและเหตุผล

การสูดดมฝุ่น PM2.5 ส่งผลกระทบต่อสุขภาพและระบบทางเดินหายใจของประชาชน ในมิติด้านความรุนแรงช่วงปลายปีและต้นปี ส่วนหนึ่งเกิดมาจากแหล่งกำเนิดของมลพิษที่ขึ้นกับฤดูกาลและสภาพอากาศ

50290400/50290400

วัตถุประสงค์ของโครงการ

พยากรณ์ฝุ่นได้อย่างแม่นยำจึงต้องมีการเก็บรวบรวมสถิติข้อมูลต่างๆ ของฝุ่น อย่างน้อยดังนี้ - ข้อมูลปรากฏการณ์ inversion - ข้อมูลทิศทางการพัดของลม - ข้อมูลจุดความร้อนจากการเผาในพื้นที่เกษตร - ข้อมูลทางกายภาพของเมือง

เป้าหมายของโครงการ

1. จัดเตรียมอุปกรณ์ป้องกันฝุ่นรูปแบบต่างๆ ที่เหมาะสม เช่น หน้ากากป้องกันฝุ่นพิษ การตรวจเครื่องฟอกอากาศ ให้กับประชาชนในกลุ่มเสี่ยง เช่น เด็ก ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคทางเดินหายใจ และประชาชนที่ต้องประกอบอาชีพกลางแจ้งเป็นลำดับความสำคัญแรก 2. ประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ นำข้อมูลเหล่านี้มาพัฒนาเป็นรูปแบบการพยากรณ์เพื่อแจ้งเตือนให้กับประชาชน โดยจะมีการตรวจสอบความแม่นยำของการพยากรณ์ โดยทำผ่านการวัดผลจากเครื่องมือวัดฝุ่นที่กระจายอยู่ตามแขวงและย่าน 3. พัฒนาจุดการแจ้งเตือนฝุ่นในสถานที่ที่มีประชาชนอยู่หนาแน่นโดยเฉพาะประชาชนกลุ่มเปราะบาง เช่น โรงเรียน โรงพยาบาล สถานที่สาธารณะ ป้ายรถเมล์ และสี่แยก 4. ปรับการแจ้งเตือนให้ค่าการแสดงผลเป็นแบบเรียลไทม์เพื่อให้ประชาชนทราบถึงสถานการณ์ฝุ่นอยู่เสมอและสามารถเลี่ยงการดำเนินกิจกรรมกลางแจ้งได้ในช่วงเวลาที่ฝุ่นหนาแน่น

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****%
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****

ผลการดำเนินงาน

(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-09-25)

100.00

25/09/2566 : การดำเนินโครงการ เดือน กันยายน 2566 1. ดำเนินการประชาสัมพันธ์ - ลงพื้นที่ จำนวน 10 ครั้ง - ช่องทางออนไลน์ จำนวน 30 ครั้ง 2. มอบอุปกรณ์ป้องกันฝุ่น (หน้ากากอนามัย) ให้กับประชาชน จำนวน 0 คน ดำเนินการประชาสัมพันธ์สถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดเล็ก (pm2.5) ทางสื่อโซเชียลมีเดีย (Facebook) และการลงพื้นที่ เพื่อให้ประชาชนวางแผนการทำงาน การทำกิจกรรมโดยเฉพาะในพื้นที่ที่คุณภาพอากาศอยู่ในระดับเริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ/มีผลกระทบต่อสุขภาพ ควรลดระยะเวลา หรืองดการทำกิจกรรมกลางแจ้ง

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 85.00 (2023-08-24)

85.00

การดำเนินโครงการ เดือน สิงหาคม 2566 1. ดำเนินการประชาสัมพันธ์ - ลงพื้นที่ จำนวน 12 ครั้ง - ช่องทางออนไลน์ จำนวน 30 ครั้ง 2. มอบอุปกรณ์ป้องกันฝุ่น (หน้ากากอนามัย) ให้กับประชาชน จำนวน 0 คน ดำเนินการประชาสัมพันธ์สถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดเล็ก (pm2.5) ทางสื่อโซเชียลมีเดีย (Facebook) และการลงพื้นที่ เพื่อให้ประชาชนวางแผนการทำงาน การทำกิจกรรมโดยเฉพาะในพื้นที่ที่คุณภาพอากาศอยู่ในระดับเริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ/มีผลกระทบต่อสุขภาพ ควรลดระยะเวลา หรืองดการทำกิจกรรมกลางแจ้ง

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 73.00 (2023-07-25)

73.00

25/07/2566 : การดำเนินโครงการ เดือน กรกฎาคม 2566 1. ดำเนินการประชาสัมพันธ์ - ลงพื้นที่ จำนวน 10 ครั้ง - ช่องทางออนไลน์ จำนวน 30 ครั้ง 2. มอบอุปกรณ์ป้องกันฝุ่น (หน้ากากอนามัย) ให้กับประชาชน จำนวน 0 คน ดำเนินการประชาสัมพันธ์สถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดเล็ก (pm2.5) ทางสื่อโซเชียลมีเดีย (Facebook) และการลงพื้นที่ เพื่อให้ประชาชนวางแผนการทำงาน การทำกิจกรรมโดยเฉพาะในพื้นที่ที่คุณภาพอากาศอยู่ในระดับเริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ/มีผลกระทบต่อสุขภาพ ควรลดระยะเวลา หรืองดการทำกิจกรรมกลางแจ้ง25/07/2566 :

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2023-06-23)

70.00

23/06/2566 : การดำเนินโครงการ เดือน มิถุนายน 2566 1. ดำเนินการประชาสัมพันธ์ - ลงพื้นที่ จำนวน 5 ครั้ง - ช่องทางออนไลน์ จำนวน 30 ครั้ง 2. มอบอุปกรณ์ป้องกันฝุ่น (หน้ากากอนามัย) ให้กับประชาชน จำนวน 0 คน ดำเนินการประชาสัมพันธ์สถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดเล็ก (pm2.5) ทางสื่อโซเชียลมีเดีย (Facebook) และการลงพื้นที่ เพื่อให้ประชาชนวางแผนการทำงาน การทำกิจกรรมโดยเฉพาะในพื้นที่ที่คุณภาพอากาศอยู่ในระดับเริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ/มีผลกระทบต่อสุขภาพ ควรลดระยะเวลา หรืองดการทำกิจกรรมกลางแจ้ง

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2023-05-24)

70.00

การดำเนินโครงการ เดือน พฤษภาคม 2566 1. ดำเนินการประชาสัมพันธ์ - ลงพื้นที่ จำนวน 5 ครั้ง - ช่องทางออนไลน์ จำนวน 30 ครั้ง 2. มอบอุปกรณ์ป้องกันฝุ่น (หน้ากากอนามัย) ให้กับประชาชน จำนวน 0 คน ดำเนินการประชาสัมพันธ์สถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดเล็ก (pm2.5) ทางสื่อโซเชียลมีเดีย (Facebook) และการลงพื้นที่ เพื่อให้ประชาชนวางแผนการทำงาน การทำกิจกรรมโดยเฉพาะในพื้นที่ที่คุณภาพอากาศอยู่ในระดับเริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ/มีผลกระทบต่อสุขภาพ ควรลดระยะเวลา หรืองดการทำกิจกรรมกลางแจ้ง

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2023-04-24)

60.00

การดำเนินโครงการ เดือน เมษายน 2566 1. ดำเนินการประชาสัมพันธ์ - ลงพื้นที่ จำนวน 5 ครั้ง - ช่องทางออนไลน์ จำนวน 20 ครั้ง 2. มอบอุปกรณ์ป้องกันฝุ่น (หน้ากากอนามัย) ให้กับประชาชน จำนวน 20 คน ดำเนินการประชาสัมพันธ์สถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดเล็ก (pm2.5) ทางสื่อโซเชียลมีเดีย (Facebook) และการลงพื้นที่ เพื่อให้ประชาชนวางแผนการทำงาน การทำกิจกรรมโดยเฉพาะในพื้นที่ที่คุณภาพอากาศอยู่ในระดับเริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ/มีผลกระทบต่อสุขภาพ ควรลดระยะเวลา หรืองดการทำกิจกรรมกลางแจ้ง

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2023-03-23)

10.00

23/03/2566 : ดำเนินการประชาสัมพันธ์สถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดเล็ก (pm2.5) ทางสื่อโซเชียลมีเดีย (Facebook) และการลงพื้นที่ เพื่อให้ประชาชนวางแผนการทำงาน การทำกิจกรรมโดยเฉพาะในพื้นที่ที่คุณภาพอากาศอยู่ในระดับเริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ/มีผลกระทบต่อสุขภาพ ควรลดระยะเวลา หรืองดการทำกิจกรรมกลางแจ้ง การดำเนินโครงการ เดือน มีนาคม 2566 1. ดำเนินการประชาสัมพันธ์ - ลงพื้นที่ จำนวน 6 ครั้ง - ช่องทางออนไลน์ จำนวน 20 ครั้ง 2. มอบอุปกรณ์ป้องกันฝุ่น (หน้ากากอนามัย) ให้กับประชาชน จำนวน 200 คน

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 33.00 (2023-02-21)

33.00

ดำเนินการประชาสัมพันธ์สถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดเล็ก (pm2.5) ทางสื่อโซเชียลมีเดีย (Facebook) และการลงพื้นที่ เพื่อให้ประชาชนวางแผนการทำงาน การทำกิจกรรมโดยเฉพาะในพื้นที่ที่คุณภาพอากาศอยู่ในระดับเริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ/มีผลกระทบต่อสุขภาพ ควรลดระยะเวลา หรืองดการทำกิจกรรมกลางแจ้ง การดำเนินโครงการ เดือน กุมภาพันธ์ 2566 1. ดำเนินการประชาสัมพันธ์ - ลงพื้นที่ จำนวน 5 ครั้ง - ช่องทางออนไลน์ จำนวน 20 ครั้ง 2. มอบอุปกรณ์ป้องกันฝุ่น (หน้ากากอนามัย) ให้กับประชาชน จำนวน 150 คน

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 33.00 (2023-02-03)

33.00

ดำเนินการประชาสัมพันธ์สถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดเล็ก (pm2.5) ทางสื่อโซเชียลมีเดีย (Facebook) และการลงพื้นที่ เพื่อให้ประชาชนวางแผนการทำงาน การทำกิจกรรมโดยเฉพาะในพื้นที่ที่คุณภาพอากาศอยู่ในระดับเริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ/มีผลกระทบต่อสุขภาพ ควรลดระยะเวลา หรืองดการทำกิจกรรมกลางแจ้ง ประจำเดือน - ตุลาคม 2565 - พฤศจิกายน 2565 - ธันวาคม 2565 - มกราคม 2566

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

แผนการดำเนินงานฯ

ขั้นตอน 1
:จัดเตรียมอุปกรณ์ป้องกันฝุ่นรูปแบบต่างๆ ที่เหมาะสม
:10.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 2
:ประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ นำข้อมูลเหล่านี้มาพัฒนาเป็นรูปแบบการพยากรณ์เพื่อแจ้งเตือนให้กับประชาชน
:10.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 3
:พัฒนาจุดการแจ้งเตือนฝุ่นในสถานที่ที่มีประชาชนอยู่หนาแน่นโดยเฉพาะประชาชนกลุ่มเปราะบาง
:70.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 4
:ปรับการแจ้งเตือนให้ค่าการแสดงผลเป็นแบบเรียลไทม์เพื่อให้ประชาชนทราบถึงสถานการณ์ฝุ่นอยู่เสมอ
:10.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00

(ทดสอบ) แสดงขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ : 50290000-7161

(คลิก) ขั้นตอนการปฏิบัติงานของโครงการ : 50290000-7161

สนับสนุนตัวชี้วัดตามแผนฯ

รายละเอียดเกี่ยวกับตัวชี้วัด : 5029-894

ตัวชี้วัด : ร้อยละความสำเร็จของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
20.00

0 / 0
2
20.00

100 / 100
3
30.00

100 / 0
4
100.00

0 / 0

** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **