ความคืบหน้าโครงการ/กิจกรรม

Back Home
FusionCharts will render here

โครงการ กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย : 50340000-7124

สำนักงานเขตประเวศ : (2566)

100

ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100

ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล

ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1

หลักการและเหตุผล

สถานการณ์การเจ็บป่วยด้วยโรคอาหารเป็นพิษในกรุงเทพมหานคร จากรายงานของกระทรวงสาธารณสุข ในรอบ ๕ ปีล่าสุด (ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ - ๒๕๖๒) พบว่าอัตราการป่วยต่อแสนประชากรเท่ากับ ๖๘.๒ ๘๗.๘ ๙๑.๑ ๑๐๐.๖ และ ๙๑.๒๐ ตามลำดับ ซึ่งมีแนวโน้มสูงขึ้นในปี พ.ศ. ๒๕๕๘-๒๕๖๑ และลดลงในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ บ่งชี้ว่ากรุงเทพมหานครยังคงเผชิญกับสภาพปัญหาความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ทั้งนี้ เนื่องจากกรุงเทพมหานครเป็นศูนย์รวมของวัตถุดิบอาหาร เป็นแหล่งกระจายสินค้า วัตถุดิบอาหารส่วนใหญ่ มีการนำเข้ามาจากต่างจังหวัดและต่างประเทศ ซึ่งอยู่นอกเหนือการควบคุมกำกับดูแลของกรุงเทพมหานคร อีกทั้งจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพเศรษฐกิจและสังคม และการขยายตัวของเขตเมือง อัตราการเจริญเติบโตของธุรกิจอาหารเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้เกิดสถานประกอบการอาหารเพิ่มจำนวนมากขึ้นตามแรงขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจที่มีผลมาจากนโยบายการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐในผู้ประกอบการรายย่อย อีกทั้งยังส่งผลให้รูปแบบการประกอบธุรกิจ ด้านอาหารมีการปรับเปลี่ยนให้เข้ากับวิถีชีวิตคนเมืองที่มีแต่ความเร่งรีบต้องการบริการที่มีความสะดวกสบาย เช่น การเพิ่มจำนวนของธุรกิจจำหน่ายอาหารแบบออนไลน์และบริการส่งถึงที่ (Ready-to-Eat Food Delivery) การจำหน่ายอาหารในลักษณะของ Food Truck รถเร่ขายอาหารแบบให้บริการเข้าถึงชุมชน ประกอบกับการเคลื่อนย้ายและเพิ่มจำนวนแรงงานต่างด้าวที่ขาดความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารในสถานประกอบการด้านอาหาร สิ่งเหล่านี้ส่งผลต่อสุขลักษณะและความปลอดภัยของอาหาร และจากการเจริญเติบโตของธุรกิจอาหารที่มีเป็นจำนวนมากนั้น หากขาดการบริหารจัดการที่ดีและระบบตรวจสอบควบคุมกำกับของเจ้าหน้าที่ภาครัฐขาดประสิทธิภาพไม่สามารถควบคุมกำกับให้สถานประกอบการดำเนินการให้เป็นไปตามข้อกำหนดและกฎหมายที่เกี่ยวข้องได้อย่างทั่วถึงและสม่ำเสมอ อาจส่งผลกระทบต่อสภาวะความเป็นอยู่โดยปกติสุขของประชาชนได้ เช่น เกิดเหตุเดือดร้อนรำคาญจากการประกอบกิจการอาหาร ไม่ว่าจะเป็นกลิ่น เสียง ความร้อน การระบายน้ำเสีย หรือฝุ่นละออง ดังนั้นสำนักอนามัยจึงได้จัดทำโครงการกรุงเทพฯเมืองอาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖6 ขึ้น เพื่อกำหนดกรอบและทิศทางในการดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัยให้มีความต่อเนื่อง รวมทั้งหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน ได้ตื่นตัว ตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องความปลอดภัยของอาหาร อีกทั้งเป็นการเสริมสร้างภาพลักษณ์และประชาสัมพันธ์งานด้านอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชนในการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร

50340400/50340400

วัตถุประสงค์ของโครงการ

2.1 เพื่อปรับปรุง พัฒนา ยกระดับมาตรฐานสถานประกอบการอาหาร และสร้างความมั่นใจ ในการบริโภคอาหารที่ปลอดภัย 2.2 เพื่อตรวจสอบและเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในสถานประกอบการอาหาร 2.3 เพื่อพัฒนาความรู้ความเข้าใจ จิตสำนึกและความร่วมมือขององค์กรภาคเอกชน ผู้ประกอบการ และประชาชนทั่วไปในเรื่องการสุขาภิบาลอาหารและอาหารปลอดภัย

เป้าหมายของโครงการ

3.1 เฝ้าระวังคุณภาพอาหารโดยสุ่มตรวจวิเคราะห์หาการปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหาร ที่จำหน่ายในสถานประกอบการอาหาร ได้แก่ ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต มินิมาร์ท ร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร ริมบาทวิถี และโรงเรียนในพื้นที่เขตประเวศ 3.2 จัดประชุมผู้ประกอบการตลาด ผู้จำหน่ายอาหารริมบาทวิถี และครูดูแลโรงอาหารในโรงเรียน เพื่อเป็นการยกระดับการสุขาภิบาลอาหารในตลาด การสุขาภิบาลริมบาทวิถี และการสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียน 3.3 ส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัย ของกรุงเทพมหานคร ร้อยละ ๑๐๐

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

ผลการดำเนินงาน

(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-09-29)

100.00

29/09/2566 : ดำเนินการตรวจสุขลักษณะด้านกายภาพ และตรวจวิเคราะห์หาสารปนเปื้อนของจุลินทรีย์และสารเคมีในอาหรในสถานประกอบการ รายงานผลการดำเนินงานให้กองสุขาภิบาลอาหารทราบและสรุปผลการดำเนินโครงการ

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 80.00 (2023-08-29)

80.00

29/08/2566 : ดำเนินการตรวจสุขลักษณะด้านกายภาพ และตรวจวิเคราะห์หาสารปนเปื้อนของจุลินทรีย์และสารเคมีในอาหรในสถานประกอบการ จำนวน จำนวน 40 ร้าน

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 75.00 (2023-07-25)

75.00

25/07/2566 : ดำเนินการตรวจสุขลักษณะด้านกายภาพ และตรวจวิเคราะห์หาสารปนเปื้อนของจุลินทรีย์และสารเคมีในอาหรในสถานประกอบการ จำนวน จำนวน 40 ร้าน

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2023-06-24)

70.00

24/06/2566 : ดำเนินการตรวจสุขลักษณะด้านกายภาพ และตรวจวิเคราะห์หาสารปนเปื้อนของจุลินทรีย์และสารเคมีในอาหรในสถานประกอบการ จำนวน จำนวน 40 ร้าน

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2023-05-25)

50.00

ดำเนินการตรวจสุขลักษณะด้านกายภาพ และตรวจวิเคราะห์หาสารปนเปื้อนของจุลินทรีย์และสารเคมีในอาหรในสถานประกอบการ จำนวน จำนวน 40 ร้าน

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 45.00 (2023-04-22)

45.00

22/04/2566 : ดำเนินการตรวจสุขลักษณะด้านกายภาพ และตรวจวิเคราะห์หาสารปนเปื้อนของจุลินทรีย์และสารเคมีในอาหรในสถานประกอบการ จำนวน จำนวน 40 ร้าน

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 40.00 (2023-03-29)

40.00

29/03/2566 : ดำเนินการตรวจสุขลักษณะด้านกายภาพ และตรวจวิเคราะห์หาสารปนเปื้อนของจุลินทรีย์และสารเคมีในอาหรในสถานประกอบการ จำนวน จำนวน 40 ร้าน

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 35.00 (2023-02-25)

35.00

25/02/2566 : ดำเนินการตรวจสุขลักษณะด้านกายภาพ และตรวจวิเคราะห์หาสารปนเปื้อนของจุลินทรีย์และสารเคมีในอาหรในสถานประกอบการ จำนวน จำนวน 40 ร้าน

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 30.00 (2023-01-27)

30.00

27/01/2566 : จัดทำโครงการฯ ขออนุมัติจากผู้อำนวยการเขต, จัดทำแผนการปฎิบัติงานตามโครงการ ดำเนินการตรวจสุขลักษณะด้านกายภาพ และตรวจวิเคราะห์หาสารปนเปื้อนของจุลินทรีย์และสารเคมีในอาหรในสถานประกอบการ จำนวน จำนวน 80

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

แผนการดำเนินงานฯ

ขั้นตอน 1
:จัดทำโครงการฯ ขออนุมัติจากผู้อำนวยการเขต
:10.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 2
:จัดทำแผนการปฏิบัิตงานตามโครงการ
:10.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 3
:ดำเนินการตรวจสุขลักษณะด้านกายภาพและตรวจวิเคราะห์หาการปนเปื้อนของจุลินทรีย์และสารเคมีในอาหารของสถานที่เป้าหมาย
:60.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 4
:รายงานผลการดำเนินงานให้กองสุขาภิบาลอาหารทราบ
:10.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00
ขั้นตอน 5
:สรุปการดำเนินโครงการ
:10.00%
เริ่มต้น :2022-10-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-10-01 00:00:00

(ทดสอบ) แสดงขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ : 50340000-7124

(คลิก) ขั้นตอนการปฏิบัติงานของโครงการ : 50340000-7124

สนับสนุนตัวชี้วัดตามแผนฯ

รายละเอียดเกี่ยวกับตัวชี้วัด : 5034-990

ตัวชี้วัด : โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 96

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 50

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

0 / 0
2
0.00

0 / 0
3
36.00

0 / 0
4
50.00

0 / 0

** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **