ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
ฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1
โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็นโครงการที่จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2536 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความเข้าใจและทำให้ตระหนักถึงความสำคัญของพันธุกรรมพืชต่างๆ ที่มีอยู่ในประเทศไทย ก่อให้เกิดกิจกรรมเพื่อให้มีการร่วมคิด ร่วมปฏิบัติที่นำผลประโยชน์มาถึงประชาชนชาวไทย ตลอดจนให้มีการจัดทำระบบข้อมูลพันธุกรรมพืชให้แพร่หลาย ทั้งนี้สืบเนื่องมาจากการที่พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงมีสายพระเนตรอันยาวไกล ทรงเล็งเห็นความสำคัญของการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช โดยที่ทรงเริ่มงานพัฒนาอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2503 เป็นต้นมา โดยมีพระราชดำริให้ดำเนินการรวบรวมรักษาพันธุ์พืชต่างๆ ที่หายากและกำลังจะหมดไป ต่อมาสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ได้ทรงสานพระราชปณิธาน โดยพระราชทานให้โครงการส่วนพระองค์ฯ สวนจิตรลดา เป็นผู้ดำเนินการจัดสร้างธนาคารพืชพรรณขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2536 เป็นต้นมา การดำเนินงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ที่ผ่านมาถึงปัจจุบันมีหน่วยงานต่างๆ ร่วมสนองพระราชดำริเป็นจำนวนมาก มีการขยายพื้นที่และกิจกรรมของโครงการไปสู่ภูมิภาคต่างๆ รวมทั้งมีแนวทางการดำเนินงานที่หลากหลายมากขึ้น บรรลุผลและก่อให้เกิดประโยชน์ต่อประเทศชาติ สำนักงานเขตจอมทองได้ดำเนินโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546 โดยได้จัดตั้งศูนย์อนุรักษ์พันธุกรรมพืชเขตจอมทอง เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ศึกษาค้นคว้าพันธุกรรมพืชและใช้ประโยชน์ทางการศึกษาพันธุกรรม ให้แก่ นักเรียน นักศึกษา และประชาชนที่สนใจ รวมทั้งดำเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น และได้จัดทำโครงการศูนย์อนุรักษ์พันธูกรรมพืชเขตจอมทอง เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของศูนย์อนุรักษ์พันธุกรรมพืชเขตจอมทอง และสนองพระราชดำริโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ ให้คงอยู่สืบไป
50361000/50361000
9.1 มีพันธุ์พืชหายากควรค่าแก่การอนุรักษ์ จัดเก็บ จัดแสดง ขยายพันธุ์ในรูปแบบต่างๆ 9.2 ศูนย์อนุรักษ์พันธุกรรมพืชเขตจอมทองเป็นแหล่งเรียนรู้ศึกษาค้นคว้าพันธุกรรมพืช และทรัพยากรท้องถิ่นให้แก่นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป 9.3 ศูนย์อนุรักษ์พันธุกรรมพืชเขตจอมทองมีข้อมูลและฐานข้อมูลพืชควรค่าแก่การอนุรักษ์ พันธุกรรมพืชกรุงเทพมหานคร ฐานข้อมูลทรัพยากรท้องถิ่นและภูมิปัญญาท้องถิ่น จัดแสดงในรูปแบบต่างๆ และสามารถเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ได้อย่างกว้างขวาง
1. จัดประชุมคณะกรรมการดำเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น อพ.สธ.เขตจอมทอง และคณะอนุกรรมการศูนย์อนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรท้องถิ่นเขตจอมทอง 2. สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์เพื่อใช้ในการดำเนินงานของศูนย์อนุรักษ์พันธุกรรมพืชเขตจอมทอง
ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City |
๒.๒ - มีพื้นที่สาธารณะ พื้นที่สีเขียวกระจายทั่วทุกพื้นที่ |
๒.๒.๑ กรุงเทพมหานครเป็นมหานครที่ร่มรื่นด้วยพรรณไม้ มีพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนเพียงพ% |
๒.๒.๑.๒ อนุรักษ์ ฟื้นฟูและรักษาพื้นที่สีเขียวเพื่อรักษาสภาพแวดล้อมที่ดีของกรุงเทพมหานคร |
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2021-09-17)
17/09/2564 : ดำเนินการจับพิกัดทางภูมิศาสตร์ชนิดพันธุ์พืช เมื่อวันที่ 14 กันยายน 2564 จำนวน 30 ชนิด ได้แก่ ตะลิงปิง พวงแก้วแดง ราชาวดี เป็นต้น
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี/ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี/ไม่มี
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 95.00 (2021-09-09)
09/09/2564 : งดการจับพิกัดทางภูมิศาสตร์ชนิดพันธุ์พืช
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี/ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี/ไม่มี
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 90.00 (2021-08-20)
20/08/2564 : ดำเนินการจับพิกัดทางภูมิศาสตร์ชนิดพันธุ์พืช เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 64 จำนวน6 ชนิด ได้แก่ ดาหลา,มะเหมี่ยว เป็นต้น วันที่ 14 กรกฏาคม 64 จำนวน 14 ชนิด ได้แก่ ฟ้าประทานพรสีขาว ทองพันชั่ง เป็นต้น
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี/ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี/ไม่มี
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 85.00 (2021-07-02)
02/07/2564 : ดำเนินการจับพิกัดทางภูมิศาสตร์ชนิดพันธุ์พืช เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 64 จำนวน 21 ชนิด ได้แก่ อ้อยดำ,ตำลึงหวานด่าง,ชมนาด เป็นต้น
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี/ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี/ไม่มี
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 80.00 (2021-06-22)
22/06/2564 : ดำเนินการจับพิกัดทางภูมิศาสตร์ชนิดพันธุ์พืช เมื่อวันที่ 13 พ.ค.64 จำนวน 37 ชนิด ได้แก่ ลิ้นจี่กะโหลกใบไหม้ ,มะยมสีทอง,เกาลัด เป็นต้น
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี/ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี/ไม่มี
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2021-05-24)
24/05/2564 : ดำเนินการจับพิกัดทางภูมิศาสตร์ชนิดพันธุ์พืช เมื่อวันที่ 8เม.ย.64 จำนวน 1 ชนิด ได้แก่ มะหวด และวันที่ 9 เม.ย.64 จำนวน6 ชนิด ได้แก่ กล้วยน้ำไทย ลิ้นมังกรด่างสำริด เป็นต้น
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี/ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี/ไม่มี
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2021-04-26)
26/04/2564 : ดำเนินการจับพิกัดทางภูมิศาสตร์ชนิดพันธุ์พืช เมื่อวันที่ 18 มี.ค.64 จำนวน 11 ชนิด ได้แก่ มะม่วงสามฤดู มะละกอฮอลแลนด์ ฯลฯ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี/ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี/ไม่มี
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2021-03-02)
ดำเนินการจับพิกัดทางภูมิศาสตร์ชนิดพันธุ์พืช เมื่อวันที่ 23 ก.พ.64 จำนวน 3 ชนิด วันที่ 24ก.พ.64 จำนวน 1 ชนิด ได้แก่ ปอสา ชบาหลอด ฯลฯ และจัดซื้อวัสดุสำหรับใช้ในศูนย์อนุรักษ์พันธุกรรมพืชเขตจอมทอง
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี/ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี/ไม่มี
------------------&&&--------------------
(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 40.00 (2021-02-10)
10/02/2564 : ดำเนินการจับพิกัดทางภูมิศาสตร์ชนิดพันธุ์พืช เมื่อวันที่ 13 ม.ค.64 จำนวน 12 ชนิด วันที่ 22 ม.ค.64 จำนวน 80 ชนิด
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี/ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี/ไม่มี
------------------&&&--------------------
(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 30.00 (2021-01-07)
07/01/2564 : ดำเนินการจับพิกัดทางภูมิศาสตร์ชนิดพันธุ์พืช เมื่อวันที่ 2 ธ.ค.63 จำนวน 1 ชนิด วันที่ 3 ธ.ค.63 จำนวน 3 ชนิด
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี/ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี/ไม่มี
------------------&&&--------------------
(11) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 20.00 (2020-12-21)
21/12/2563 : ดำเนินการจับพิกัดทางภูมิศาสตร์ชนิดพันธุ์พืช เมื่อวันที่ 11 พ.ย.63 จำนวน 8 ชนิด วันที่ 24 พ.ย.63 จำนวน 4 ชนิด วันที่ 27 พ.ย.63 จำนวน 1 ชนิด ได้แก่สะลอดน้ำ หมามุ่ย โมกด่าง เป็นต้น
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี/ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี/ไม่มี
------------------&&&--------------------
(12) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 10.00 (2020-11-05)
05/11/2563 : ดำเนินการจับพิกัดทางภูมิศาสตร์ชนิดพันธุ์พืช เมื่อวันที่ 12 ต.ค.63 จำนวน 13 ชนิด ได้แก่ กล้วยมาฮอย พุทธรักษาด่าง อ้อยสุพรรณ50 ฯลฯ
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี/ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี/ไม่มี
------------------&&&--------------------
(13) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 5.00 (2020-10-29)
29/10/2563 : จัดทำโครงการและเสนอขออนุมัติเงินประจำงวด
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี/ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี/ไม่มี
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : จำนวนชนิดพันธุ์พืชที่ได้รับการจับพิกัดทางภูมิศาสตร์ (GPS)
ค่าเป้าหมาย ชนิด/ปี : 100
ผลงานที่ทำได้ ชนิด/ปี : 226
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **