ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 100
ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล
ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1
แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๗๕) กำหนดวิสัยทัศน์ให้กรุงเทพมหานครเป็น “มหานครแห่งเอเชีย” ภายในปี พ.ศ. ๒๕๗๕ โดยยุทธศาสตร์ที่ ๑ “มหานครปลอดภัย” ให้ความสำคัญกับการเป็นมหานครที่มีอาหารปลอดภัยสำหรับการบริโภค มีเป้าหมาย คือ “ประชาชนบริโภคอาหารที่มีความปลอดภัยจากเชื้อโรคและสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ” สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ที่กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ครอบคลุมความรอบรู้ด้านสุขภาพ การควบคุมและป้องกันปัจจัยเสี่ยงที่คุกคามต่อสุขภาพ การสร้างสภาวะแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะที่ดี สถานการณ์การเจ็บป่วยด้วยโรคอาหารเป็นพิษในกรุงเทพมหานคร จากรายงานของกระทรวงสาธารณสุข ในรอบ ๕ ปีล่าสุด (ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ - ๒๕๖๒) พบว่าอัตราการป่วยต่อแสนประชากรเท่ากับ ๖๘.๒ ๘๗.๘ ๙๑.๑ ๑๐๐.๖ และ ๙๑.๒๐ ตามลำดับ ซึ่งมีแนวโน้มสูงขึ้นในปี พ.ศ. ๒๕๕๘-๒๕๖๑ และลดลงในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ บ่งชี้ว่ากรุงเทพมหานครยังคงเผชิญกับสภาพปัญหาความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ทั้งนี้ เนื่องจากกรุงเทพมหานครเป็นศูนย์รวมของวัตถุดิบอาหาร เป็นแหล่งกระจายสินค้า วัตถุดิบอาหารส่วนใหญ่มีการนำเข้ามาจากต่างจังหวัดและต่างประเทศ ซึ่งอยู่นอกเหนือการควบคุมกำกับดูแลของกรุงเทพมหานคร อีกทั้งจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพเศรษฐกิจและสังคม และการขยายตัวของเขตเมือง อัตราการเจริญเติบโตของธุรกิจอาหารเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้เกิดสถานประกอบการอาหารเพิ่มจำนวนมากขึ้นตามแรงขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจที่มีผลมาจากนโยบายการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐในผู้ประกอบการรายย่อย อีกทั้งยังส่งผลให้รูปแบบการประกอบธุรกิจด้านอาหารมีการปรับเปลี่ยนให้เข้ากับวิถีชีวิตคนเมืองที่มีแต่ความเร่งรีบต้องการบริการที่มีความสะดวกสบาย เช่น การเพิ่มจำนวนของธุรกิจจำหน่ายอาหารแบบออนไลน์และบริการส่งถึงที่ (Ready-to-Eat Food Delivery) การจำหน่ายอาหารในลักษณะของ Food Truck รถเร่ขายอาหารแบบให้บริการเข้าถึงชุมชน ประกอบกับการเคลื่อนย้ายและเพิ่มจำนวนแรงงานต่างด้าวที่ขาดความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารในสถานประกอบการด้านอาหาร สิ่งเหล่านี้ส่งผลต่อสุขลักษณะและความปลอดภัยของอาหาร และจากการเจริญเติบโตของธุรกิจอาหารที่มีเป็นจำนวนมากนั้น หากขาดการบริหารจัดการที่ดีและระบบตรวจสอบควบคุมกำกับของเจ้าหน้าที่ภาครัฐขาดประสิทธิภาพไม่สามารถควบคุมกำกับให้สถานประกอบการดำเนินการให้เป็นไปตามข้อกำหนดและกฎหมายที่เกี่ยวข้องได้อย่างทั่วถึงและสม่ำเสมอ อาจส่งผลกระทบต่อสภาวะความเป็นอยู่โดยปกติสุขของประชาชนได้ เช่น เกิดเหตุเดือดร้อนรำคาญจากการประกอบกิจการอาหาร ไม่ว่าจะเป็นกลิ่น เสียง ความร้อน การระบายน้ำเสีย หรือฝุ่นละออง ดังนั้นสำนักงานเขตดินแดงจึงได้จัดทำโครงการกรุงเทพฯเมืองอาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ขึ้น เพื่อกำหนดกรอบและทิศทางในการดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัยให้มีความต่อเนื่อง รวมทั้งหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน ได้ตื่นตัว ตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องความปลอดภัยของอาหาร อีกทั้งเป็นการเสริมสร้างภาพลักษณ์และประชาสัมพันธ์งานด้านอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชนในการคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร
50370400/50370400
2.1 เพื่อปรับปรุง พัฒนา ยกระดับมาตรฐานสถานประกอบการอาหาร 2.2 เพื่อตรวจสอบและเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในสถานประกอบการอาหาร 2.3 เพื่อพัฒนาความรู้ความเข้าใจ จิตสำนึกและความร่วมมือขององค์กรภาคเอกชน ผู้ประกอบการ และประชาชนทั่วไปใน เรื่องการสุขาภิบาลอาหารและอาหารปลอดภัย 2.4 เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค และสร้างความมั่นใจในการบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย
3.1 เฝ้าระวังคุณภาพอาหารโดยสุ่มตรวจวิเคราะห์หาการปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารที่จำหน่ายในสถานประกอบการอาหาร ได้แก่ ตลาด ซูเปอร์มาร์เก็ต มินิมาร์ท ร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหารริมบาทวิถี และโรงเรียนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3.2 ส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครมีบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** |
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** |
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****% |
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** |
(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2023-09-20)
20/09/2566 : - ตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารด้วยชุดทดสอบคุณภาพอาหารเบื้องต้น (Test Kit) ตามกลุ่มเป้าหมาย ขั้นตอนการดำเนินงาน 1.จัดทำหนังสือแจ้งผู้ประกอบการ 2.ดำเนินการตรวจสุขลักษณะของสถานประกอบการ 3.เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อทดสอบหาสารเคมีปนเปื้อน 4.จัดเก็บตัวอย่างอาหาร ทำการ Swab Test ภาชนะ และอุปกรณ์ที่สัมผัสอาหาร รวมถึงมือของผู้สัมผัสอาหารเพื่อทดสอบการปนนเปื้อน เชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย 5. จัดทำรายงานผลการตรวจสอบและแจ้งให้สถานประกอบการทราบ ผลการตรวจสอบมีดังนี้ 1.ด้านกายภาพ - ตรวจสุขาภิบาล ร้านอาหาร จำนวน 8 ร้าน ผ่านทั้งหมด 2. ด้านเคมี - บอแรกซ์ จำนวน 10 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ฟอร์มาลีน จำนวน 2 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารฟอกขาว จำนวน 1 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารกันรา จำนวน 2 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ยาฆ่าแมลง จำนวน 11 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารโพล่า จำนวน 1 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - กรดแร่อิสระ จำนวน 1 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด 3. ด้านชีวภาพ - SI-2 จำนวน 31 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - อ11 จำนวน 9 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - อ12 จำนวน 9 ตัวอย่าง ผ่านมั้งหมด - รวบรวมผลการดำเนินงาน และสรุปผลการดำเนินงาน - รายงานผลการดำเนินการในระบบสารสนเทศ
** ปัญหาของโครงการ : - ปัญหาความเข้าใจในการตรวจประเมินมาตรฐานอาหารปลอดภัย ของผู้ประกอบกิจการ
** อุปสรรคของโครงการ : - อยากให้มีช่องทางการส่งเสริมความรู้ด้านการสุขาภิบาลอาหาร แก่ผู้สัมผัสอาหารที่เป็นชาวต่างชาติ ให้มากขึ้น
------------------&&&--------------------
(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 95.00 (2023-08-23)
23/08/2566 : - ตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารด้วยชุดทดสอบคุณภาพอาหารเบื้องต้น (Test Kit) ตามกลุ่มเป้าหมาย ขั้นตอนการดำเนินงาน 1.จัดทำหนังสือแจ้งผู้ประกอบการ 2.ดำเนินการตรวจสุขลักษณะของสถานประกอบการ 3.เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อทดสอบหาสารเคมีปนเปื้อน 4.จัดเก็บตัวอย่างอาหาร ทำการ Swab Test ภาชนะ และอุปกรณ์ที่สัมผัสอาหาร รวมถึงมือของผู้สัมผัสอาหารเพื่อทดสอบการปนนเปื้อน เชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย 5. จัดทำรายงานผลการตรวจสอบและแจ้งให้สถานประกอบการทราบ ผลการตรวจสอบมีดังนี้ 1.ด้านกายภาพ - ตรวจสุขาภิบาล สถานที่จำหน่ายอาหาร จำนวน 11 แห่ง ผ่านทั้งหมด มินิมาร์ท จำนวน 1 แห่ง ผ่านทั้งหมด ซูเปอร์มาร์เก็ต จำนวน 2 แห่ง ผ่านทั้งหมด ตลาด จำนวน 1 แห่ง ผ่านทั้งหมด 2. ด้านเคมี - บอแรกซ์ จำนวน 29 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ฟอร์มาลีน จำนวน 10 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารฟอกขาว จำนวน 5 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารกันรา จำนวน 9 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ยาฆ่าแมลง จำนวน 68 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - วัตถุกันเสีย จำนวน 6 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - กรดแร่อิสระ จำนวน 3 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด 3. ด้านชีวภาพ - SI-2 จำนวน 75 ตัวอย่าง ผ่าน 75 ตัวอย่าง - อ11 จำนวน 14 ตัวอย่าง ผ่าน 14 ตัวอย่าง 4. กิจกรรมอาสาสมัครอาหารปลอดภัยในสถานศึกษา วันที่ 4 สิงหาคม 2566 ณ ห้องประชุมสำนักงานเขตดินแดง 5. รวบรวมผลการดำเนินงาน ปรับปรุงข้อมูล และสรุปผลกำารดำเนินโครงการ
** ปัญหาของโครงการ : - ฐานข้อมูลสถานประกอบการบางส่วนมีการเปลี่ยนแปลง จากการโยกย้ายสถานที่ปฏิบัติงาน
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 90.00 (2023-07-20)
** ปัญหาของโครงการ :- ตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารด้วยชุดทดสอบคุณภาพอาหารเบื้องต้น (Test Kit) ตามกลุ่มเป้าหมาย ขั้นตอนการดำเนินงาน 1.จัดทำหนังสือแจ้งผู้ประกอบการ 2.ดำเนินการตรวจสุขลักษณะของสถานประกอบการ 3.เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อทดสอบหาสารเคมีปนเปื้อน 4.จัดเก็บตัวอย่างอาหาร ทำการ Swab Test ภาชนะ และอุปกรณ์ที่สัมผัสอาหาร รวมถึงมือของผู้สัมผัสอาหารเพื่อทดสอบการปนนเปื้อน เชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย 5. จัดทำรายงานผลการตรวจสอบและแจ้งให้สถานประกอบการทราบ ผลการตรวจสอบมีดังนี้ 1.ด้านกายภาพ - ตรวจสุขาภิบาล ร้านอาหาร จำนวน 23 แห่ง ผ่านทั้งหมด มินิมาร์ท จำนวน 44 แห่ง ผ่านทั้งหมด ซูเปอร์มาร์เก็ต จำนวน 14 แห่ง ผ่านทั้งหมด สถานศึกษา จำนวน 8 แห่ง ผ่านทั้งหมด ตลาด จำนวน 1 แห่ง ผ่านทั้งหมด 2. ด้านเคมี - บอแรกซ์ จำนวน 52 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ฟอร์มาลีน จำนวน 24 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารฟอกขาว จำนวน 11 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารกันรา จำนวน 7 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ยาฆ่าแมลง จำนวน 59 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - วัตถุกันเสีย จำนวน 23 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารโพล่า จำนวน 8 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - กรดแร่อิสระ จำนวน 7 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ไอโอเดท จำนวน 3 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด 3. ด้านชีวภาพ - SI-2 จำนวน 370 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - อ11 จำนวน 136 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - อ12 จำนวน 51 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 0.00 (2023-06-28)
** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 85.00 (2023-06-23)
23/06/2566 : - ตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารด้วยชุดทดสอบคุณภาพอาหารเบื้องต้น (Test Kit) ตามกลุ่มเป้าหมาย ขั้นตอนการดำเนินงาน 1.จัดทำหนังสือแจ้งผู้ประกอบการ 2.ดำเนินการตรวจสุขลักษณะของสถานประกอบการ 3.เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อทดสอบหาสารเคมีปนเปื้อน 4.จัดเก็บตัวอย่างอาหาร ทำการ Swab Test ภาชนะ และอุปกรณ์ที่สัมผัสอาหาร รวมถึงมือของผู้สัมผัสอาหารเพื่อทดสอบการปนนเปื้อน เชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย 5. จัดทำรายงานผลการตรวจสอบและแจ้งให้สถานประกอบการทราบ ผลการตรวจสอบมีดังนี้ 1.ด้านกายภาพ - ตรวจสุขาภิบาล สถานศึกษา จำนวน 12 แห่ง ผ่าน 6 แห่ง ไม่ผ่าน 6 แห่ง ผู้สัมผัสอาหารบางรายยังไม่ผ่านการอบรมสุขาภิบาลอาหาร สถานที่จำหน่ายอาหาร จำนวน 8 แห่ง ผ่านทั้งหมด มินิมาร์ท จำนวน 15 แห่ง ผ่าน 11 แห่ง ไม่ผ่าน 4 แห่ง ซูเปอร์มาร์เก็ต จำนวน 8 แห่ง ผ่าน 6 แห่ง ไม่ผ่าน 2 แห่ง 2. ด้านเคมี - บอแรกซ์ จำนวน 36 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ฟอร์มาลีน จำนวน 10 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารฟอกขาว จำนวน 8 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารกันรา จำนวน 2 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ยาฆ่าแมลง จำนวน 37 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สีสังเคราะห์ จำนวน 11 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารโพล่า จำนวน 6 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - กรดแร่อิสระ จำนวน 6 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด 3. ด้านชีวภาพ - SI-2 จำนวน 233 ตัวอย่าง ผ่าน 232 ตัวอย่าง ไม่ผ่าน 1 ตัวอย่าง - อ11 จำนวน 78 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - อ12 จำนวน 36 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด
** ปัญหาของโครงการ : - ผู้สัมผัสอาหารบางรายยังขาดการอบรมสุขาภิบาลอาหาร - ผู้สัมผัสอาหารที่เป้นชาวต่างชาติ มีอุปสรรคในด้านภาษาและการสื่อสาร ทำให้ขาดดอกาสในการเข้ารับการอบรมสุขาภิบาลอาหาร
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 80.00 (2023-05-23)
23/05/2566 : - กิจกรรมเครือข่ายสุขาภิบาลอาหารในสถานศึกษา - ตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารด้วยชุดทดสอบคุณภาพอาหารเบื้องต้น (Test Kit) ตามกลุ่มเป้าหมาย ขั้นตอนการดำเนินงาน 1.จัดทำหนังสือแจ้งผู้ประกอบการ 2.ดำเนินการตรวจสุขลักษณะของสถานประกอบการ 3.เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อทดสอบหาสารเคมีปนเปื้อน 4.จัดเก็บตัวอย่างอาหาร ทำการ Swab Test ภาชนะ และอุปกรณ์ที่สัมผัสอาหาร รวมถึงมือของผู้สัมผัสอาหารเพื่อทดสอบการปนนเปื้อน เชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย 5. จัดทำรายงานผลการตรวจสอบและแจ้งให้สถานประกอบการทราบ ผลการตรวจสอบมีดังนี้ 1.ด้านกายภาพ - ตรวจสุขาภิบาล ร้านอาหาร จำนวน 23 ร้าน ผ่านทั้งหมด ซูเปอมาร์เก็ต จำนวน 1 ร้าน ผ่าน 2. ด้านเคมี - บอแรกซ์ จำนวน 17 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ฟอร์มาลีน จำนวน 14 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารฟอกขาว จำนวน 5 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารกันรา จำนวน 7 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ยาฆ่าแมลง จำนวน 28 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - วัตถุกันเสีย จำนวน 2 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารโพล่า จำนวน 8 ตัวอย่าง ผ่าน 5 ตัวอย่าง ไม่ผ่าน 3 ตัวอย่าง - ไอโอเดท จำนวน 2 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด 3. ด้านชีวภาพ - SI-2 จำนวน 109 ตัวอย่าง ผ่าน 108 ตัวอย่าง ไม่ผ่าน 1 ตัวอย่าง - อ11 จำนวน 17 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - อ12 จำนวน 1 ตัวอย่าง ผ่าน
** ปัญหาของโครงการ : - ตัวอย่างอาหารที่ไม่ผ่านการทดสอบ ได้มีการให้คำแนะนำ แนวทางการดำเนินการแก้ไข และจะดำเนินการติดตามตรวจสอบต่อไป
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 70.00 (2023-04-21)
21/04/2566 : - ตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารด้วยชุดทดสอบคุณภาพอาหารเบื้องต้น (Test Kit) ตามกลุ่มเป้าหมาย ขั้นตอนการดำเนินงาน 1.จัดทำหนังสือแจ้งผู้ประกอบการ 2.ดำเนินการตรวจสุขลักษณะของสถานประกอบการ 3.เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อทดสอบหาสารเคมีปนเปื้อน 4.จัดเก็บตัวอย่างอาหาร ทำการ Swab Test ภาชนะ และอุปกรณ์ที่สัมผัสอาหาร รวมถึงมือของผู้สัมผัสอาหารเพื่อทดสอบการปนนเปื้อน เชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย 5. จัดทำรายงานผลการตรวจสอบและแจ้งให้สถานประกอบการทราบ ผลการตรวจสอบมีดังนี้ 1.ด้านกายภาพ - ตรวจสุขาภิบาล สถานที่จำหน่ายอาหาร จำนวน 32 ร้าน ผ่านทั้งหมด ซูเปอร์มาร์เก็ต จำนวน 3 ร้าน ผ่านทั้งหมด 2. ด้านเคมี - บอแรกซ์ จำนวน 35 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ฟอร์มาลีน จำนวน 20 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารฟอกขาว จำนวน 3 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารกันรา จำนวน 7 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ยาฆ่าแมลง จำนวน 54 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - วัตถุกันเสีย จำนวน 3 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารโพล่า จำนวน 9 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - กรดแร่อิสระ จำนวน 2 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ไอโอเดท จำนวน 4 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด 3. ด้านชีวภาพ - SI-2 จำนวน 157 ตัวอย่าง ผ่าน 148 ตัวอย่าง ไม่ผ่าน 9 ตัวอย่าง - อ11 จำนวน 18 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - อ12 จำนวน 13 ตัวอย่าง ผ่าน 11 ตัวอย่าง ไม่ผ่าน 2 ตัวอย่าง
** ปัญหาของโครงการ :- สถานประกอบกิจการหลายแห่ง มีอัตราการเข้าออก และย้ายตำแหน่งงาน ทำให้ผู้สัมผัสอาหารที่ผ่านการอบรมสุขาภิบาลอาหารของสถานประกอบกิจการแต่ละแห่ง ไม่
** อุปสรรคของโครงการ :-
------------------&&&--------------------
(8) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 60.00 (2023-03-20)
20/03/2566 : - ตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารด้วยชุดทดสอบคุณภาพอาหารเบื้องต้น (Test Kit) ตามกลุ่มเป้าหมาย ขั้นตอนการดำเนินงาน 1.จัดทำหนังสือแจ้งผู้ประกอบการ 2.ดำเนินการตรวจสุขลักษณะของสถานประกอบการ 3.เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อทดสอบหาสารเคมีปนเปื้อน 4.จัดเก็บตัวอย่างอาหาร ทำการ Swab Test ภาชนะ และอุปกรณ์ที่สัมผัสอาหาร รวมถึงมือของผู้สัมผัสอาหารเพื่อทดสอบการปนนเปื้อน เชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย 5. จัดทำรายงานผลการตรวจสอบและแจ้งให้สถานประกอบการทราบ ผลการตรวจสอบมีดังนี้ 1.ด้านกายภาพ - ตรวจสุขาภิบาล ร้านอาหาร จำนวน 32 แห่ง ผ่านทั้งหมด 2. ด้านเคมี - บอแรกซ์ จำนวน 26 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ฟอร์มาลีน จำนวน 14 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารกันรา จำนวน 7 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ยาฆ่าแมลง จำนวน 54 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารโพล่า จำนวน 4 ตัวอย่าง ไม่ผ่าน 1 ตัวอย่าง แจ้งดำเนินการแก้ไขแล้ว - กรดแร่อิสระ จำนวน 1 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ไอโอเดท จำนวน 1 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด 3. ด้านชีวภาพ - SI-2 จำนวน 137 ตัวอย่าง ผ่าน 133 ตัวอย่าง ไม่ผ่าน 4 ตัวอย่าง - อ11 จำนวน 16 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - อ12 จำนวน 3 ตัวอย่าง ผ่าน 2 ตัวอย่าง ไม่ผ่าน 1 ตัวอย่าง
** ปัญหาของโครงการ : - ผู้สัมผัสอาหารมีการเปลี่ยนแปลงทั้งตัวบุคคล และสถานที่ทำงาน ทำให้บางส่วนยังไม่ได้เข้ารับการอบรมด้านสุขาภิบาลอาหาร
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(9) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2023-02-22)
22/02/2566 : - ตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารด้วยชุดทดสอบคุณภาพอาหารเบื้องต้น (Test Kit) ตามกลุ่มเป้าหมาย ขั้นตอนการดำเนินงาน 1.จัดทำหนังสือแจ้งผู้ประกอบการ 2.ดำเนินการตรวจสุขลักษณะของสถานประกอบการ 3.เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อทดสอบหาสารเคมีปนเปื้อน 4.จัดเก็บตัวอย่างอาหาร ทำการ Swab Test ภาชนะ และอุปกรณ์ที่สัมผัสอาหาร รวมถึงมือของผู้สัมผัสอาหารเพื่อทดสอบการปนนเปื้อน เชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย 5. จัดทำรายงานผลการตรวจสอบและแจ้งให้สถานประกอบการทราบ ผลการตรวจสอบมีดังนี้ 1.ด้านกายภาพ - ตรวจสุขาภิบาล สถานที่จำหน่ายอาหาร จำนวน 43 แห่ง ผ่านทั้งหมด มินิมาร์ท จำนวน 8 แห่ง ผ่านทั้งหมด ซูเปอร์มาร์เก็ต จำนวน 3 แห่ง ผ่านทั้งหมด 2. ด้านเคมี - บอแรกซ์ จำนวน 32 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ฟอร์มาลีน จำนวน 17 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารฟอกขาว จำนวน 3 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารกันรา จำนวน 6 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ยาฆ่าแมลง จำนวน 114 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารโพล่า จำนวน 4 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - กรดแร่อิสระ จำนวน 4 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด 3. ด้านชีวภาพ - SI-2 จำนวน 247 ตัวอย่าง ผ่าน 238 ตัวอย่าง ไม่ผ่าน 9 ตัวอย่าง - อ11 จำนวน 59 ตัวอย่าง ผ่านทุกตัวอย่าง
** ปัญหาของโครงการ :ถานประกอบการอยู่ระหว่างการปรับปรุงสภาพมาตรฐานร้านอาหาร
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
(10) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 40.00 (2023-01-23)
23/01/2566 : - ตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารด้วยชุดทดสอบคุณภาพอาหารเบื้องต้น (Test Kit) ตามกลุ่มเป้าหมาย ขั้นตอนการดำเนินงาน 1.จัดทำหนังสือแจ้งผู้ประกอบการ 2.ดำเนินการตรวจสุขลักษณะของสถานประกอบการ 3.เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อทดสอบหาสารเคมีปนเปื้อน 4.จัดเก็บตัวอย่างอาหาร ทำการ Swab Test ภาชนะ และอุปกรณ์ที่สัมผัสอาหาร รวมถึงมือของผู้สัมผัสอาหารเพื่อทดสอบการปนนเปื้อน เชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย 5. จัดทำรายงานผลการตรวจสอบและแจ้งให้สถานประกอบการทราบ ผลการตรวจสอบมีดังนี้ 1.ด้านกายภาพ - ตรวจสุขาภิบาล สถานที่จำหน่ายอาหาร จำนวน 9 ร้าน ผ่านทั้งหมด มินิมาร์ท จำนวน 3 ร้าน ผ่านทั้งหมด ซูเปอร์มาร์เก็ต จำนวน 4 แห่ง ผ่านทั้งหมด สถานศึกษา จำนวน10 แห่ง ผ่านทั้งหมด 2. ด้านเคมี - บอแรกซ์ จำนวน 17 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ฟอร์มาลีน จำนวน 5 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารฟอกขาว จำนวน 2 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารกันรา จำนวน 3 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ยาฆ่าแมลง จำนวน 54 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สีสังเคราะห์ จำนวน 0 ตัวอย่าง - สารโพล่า จำนวน 2 ตัวอย่าง ไม่ผ่าน 1 ตัวอย่าง (ออกคำแนะนำฯลฯ และติดตามผล) - กรดแร่อิสระ จำนวน 0 ตัวอย่าง - ไอโอเดท จำนวน 0 ตัวอย่าง 3. ด้านชีวภาพ - SI-2 จำนวน 112 ตัวอย่าง ผ่าน 106 ตัวอย่าง ไม่ผ่าน 6 ตัวอย่าง - อ11 จำนวน 16 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด
** ปัญหาของโครงการ : - ปัญหาการสร้างความเข้าใจกับผู้ประกอบกิจการ กรณีพบปัญหาด้านการสุขาภิบาลอาหาร
** อุปสรรคของโครงการ : -
------------------&&&--------------------
(11) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 30.00 (2022-12-28)
28/12/2565 : - ตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารด้วยชุดทดสอบคุณภาพอาหารเบื้องต้น (Test Kit) ตามกลุ่มเป้าหมาย ขั้นตอนการดำเนินงาน 1.จัดทำหนังสือแจ้งผู้ประกอบการ 2.ดำเนินการตรวจสุขลักษณะของสถานประกอบการ 3.เก็บตัวอย่างอาหารเพื่อทดสอบหาสารเคมีปนเปื้อน 4.จัดเก็บตัวอย่างอาหาร ทำการ Swab Test ภาชนะ และอุปกรณ์ที่สัมผัสอาหาร รวมถึงมือของผู้สัมผัสอาหารเพื่อทดสอบการปนนเปื้อน เชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย 5. จัดทำรายงานผลการตรวจสอบและแจ้งให้สถานประกอบการทราบ ผลการตรวจสอบมีดังนี้ 1.ด้านกายภาพ - ตรวจสุขาภิบาล ร้านอาหาร จำนวน 66 ร้าน ผ่านทั้งหมด มินิมาร์ท จำนวน 8 ร้าน ผ่านทั้งหมด ซูเปอร์มาร์เก็ต จำนวน 4 ร้าน ผ่านทั้งหมด สถานศึกษา จำนวน 11 แห่ง ผ่านทั้งหมด 2. ด้านเคมี - บอแรกซ์ จำนวน 58 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ฟอร์มาลีน จำนวน 27 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารฟอกขาว จำนวน 17 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารกันรา จำนวน 13 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ยาฆ่าแมลง จำนวน 289 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สีสังเคราะห์ จำนวน 6 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - สารโพล่า จำนวน 3 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - กรดแร่อิสระ จำนวน 11 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด - ไอโอเดท จำนวน 7 ตัวอย่าง ผ่านทั้งหมด 3. ด้านชีวภาพ - SI-2 จำนวน 284 ตัวอย่าง ผ่าน 272 ตัวอย่าง ไม่ผ่าน 12 ตัวอย่าง - อ11 จำนวน 68 ตัวอย่าง ผ่าน 64 ตัวอย่าง ไม่ผ่าน 4 ตัวอย่าง
** ปัญหาของโครงการ : - ระบบสนับสนุนการปฏิบัติงาน ยังมีปัญหาอยู่บ้าง
** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี
------------------&&&--------------------
ตัวชี้วัด : ร้อยละของสถานประกอบการอาหารได้มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร
ค่าเป้าหมาย ร้อยละตามการดำเนินการตามเป้าหมาย : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละตามการดำเนินการตามเป้าหมาย : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output)
** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **