ความคืบหน้าโครงการ/กิจกรรม

Back Home
FusionCharts will render here

ค่าใช้จ่ายโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย : 50420000-3709

สำนักงานเขตสายไหม : (2565)

10

ความคืบหน้าโครงการ ร้อยละ 10

ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล

ดูโครงการแผนปีฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ประเมินโครงการ : ไตรมาสที่ 1

หลักการและเหตุผล

จากการดำเนินการโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัยนับตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๔๙ เป็นต้นมา ในภาพรวมพบว่าสถานการณ์ความไม่ปลอดภัยด้านอาหารมีแนวโน้มไม่คงที่ โดยสถิติการปนเปื้อนทั้งสารเคมีอันตรายและเชื้อโรคที่ก่อให้เกิดโรคระบบทางเดินอาหาร ในปี พ.ศ. 2557 พบร้อยละ 1.9 พ.ศ. 2558 พบร้อยละ 1.9 พ.ศ. 2559 พบร้อยละ 2.6 พ.ศ. 2560 พบร้อยละ 2.5 และ พ.ศ. 2561 พบร้อยละ 2.1 และจากการดำเนินการพัฒนาสถานประกอบการอาหารให้เข้าสู่มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี พบว่าสถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาเข้าสู่มาตรฐานอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม จากสถิติการปนเปื้อนสารเคมีและจุลินทรีย์แต่ละชนิดพบว่ายังคงเป็นปัญหาที่จำเป็นต้องได้รับการแก้ไขอย่างต่อเนื่องต่อไป เพื่อให้การดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัยในกรุงเทพมหานคร มีความยั่งยืนและเกิดประโยชน์ต่อชาวกรุงเทพมหานครสูงสุด สำนักงานเขตสายไหมจึงได้จัดทำโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖4 ขึ้น ภายใต้แผนยุทธศาสตร์กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ทั้งนี้ เพื่อให้การดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัยมีความต่อเนื่อง หน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนได้ตื่นตัวและตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องความปลอดภัยของอาหาร รวมทั้งเป็นการเสริมสร้างภาพลักษณ์และประชาสัมพันธ์งานด้านอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร เพื่อก่อประโยชน์ต่อประชาชนชาวกรุงเทพมหานคร นักท่องเที่ยว รวมทั้งผู้ที่มาพักอาศัยจะได้รับการคุ้มครองสุขภาพจากการบริโภคอาหารปลอดภัย

50420400/50420400

วัตถุประสงค์ของโครงการ

เป้าหมายของโครงการ

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย
๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน%
๑.๖.๕.๑ ควบคุม กำกับ ดูแล ให้สถานประกอบการอาหาร เตรียม ประกอบปรุง และจำหน่ายอาหารถูกสุขลักษณะ

ผลการดำเนินงาน

(1) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2022-10-03)

100.00

03/10/2565 : จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงานโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เสนอผู้บริหาร

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(2) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 100.00 (2022-09-30)

100.00

30/09/2565 : 1. ตรวจประเมินด้านสุขลักษณะ/ด้านกายภาพของสถานประกอบการอาหารทั้งรายต่ออายุและรายใหม่ 2. ตรวจเฝ้าระวังการปนเปื้อนเชื้อโรคและสารเคมีปนเปื้อนในอาหารด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (Test Kit) 3. ส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัย มีการพัฒนาให้ผ่านเกณฑ์การบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green Service) 4. ประชาสัมพันธ์และส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข (D-M-H-T-A) โดยเคร่งครัด 5. ส่งเสริมให้ผู้ประกอบกิจการด้านอาหารและผู้สัมผัสอาหารเข้ารับการประเมินความรู้ด้านการสุขาภิบาลอาหารของกรุงเทพมหานคร ตามแนวทางการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Study) สำหรับผู้สัมผัสอาหารสัญชาติไทย และหลักสูตรผู้สัมผัสอาหารต่างด้าว 6. จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงานโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ให้ผู้บริหารทราบ

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(3) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 75.00 (2022-08-25)

75.00

25/08/2565 : ตรวจประเมินด้านสุขลักษณะ/ด้านกายภาพของสถานประกอบการอาหารทั้งรายต่ออายุและรายใหม่ 2. ตรวจเฝ้าระวังการปนเปื้อนเชื้อโรคและสารเคมีปนเปื้อนในอาหารด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (Test Kit) 3. ส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัย มีการพัฒนาให้ผ่านเกณฑ์การบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green Service) 4. ประชาสัมพันธ์และส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข (D-M-H-T-A) โดยเคร่งครัด 5. ส่งเสริมให้ผู้ประกอบกิจการด้านอาหารและผู้สัมผัสอาหารเข้ารับการประเมินความรู้ด้านการสุขาภิบาลอาหารของกรุงเทพมหานคร ตามแนวทางการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Study)

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(4) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 65.00 (2022-07-25)

65.00

25/07/2565 : 1. ตรวจประเมินด้านสุขลักษณะ/ด้านกายภาพของสถานประกอบการอาหารทั้งรายต่ออายุและรายใหม่ 2. ตรวจเฝ้าระวังการปนเปื้อนเชื้อโรคและสารเคมีปนเปื้อนในอาหารด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (Test Kit) 3. ส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัย มีการพัฒนาให้ผ่านเกณฑ์การบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green Service) 4. ประชาสัมพันธ์และส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข (D-M-H-T-A) โดยเคร่งครัด 5. ส่งเสริมให้ผู้ประกอบกิจการด้านอาหารและผู้สัมผัสอาหารเข้ารับการประเมินความรู้ด้านการสุขาภิบาลอาหารของกรุงเทพมหานคร ตามแนวทางการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Study)

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(5) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 50.00 (2022-06-27)

50.00

27/06/2565 : 1. ตรวจประเมินด้านสุขลักษณะ/ด้านกายภาพของสถานประกอบการอาหารทั้งรายต่ออายุและรายใหม่ 2. ตรวจเฝ้าระวังการปนเปื้อนเชื้อโรคและสารเคมีปนเปื้อนในอาหารด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (Test Kit) 3. ส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัย มีการพัฒนาให้ผ่านเกณฑ์การบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green Service) 4. ประชาสัมพันธ์และส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข (D-M-H-T-A) โดยเคร่งครัด 5. ส่งเสริมให้ผู้ประกอบกิจการด้านอาหารและผู้สัมผัสอาหารเข้ารับการประเมินความรู้ด้านการสุขาภิบาลอาหารของกรุงเทพมหานคร ตามแนวทางการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Study)

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(6) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 25.00 (2022-05-24)

25.00

24/05/2565 : 1. ตรวจประเมินด้านสุขลักษณะ/ด้านกายภาพของสถานประกอบการอาหารทั้งรายต่ออายุและรายใหม่ 2. ตรวจเฝ้าระวังการปนเปื้อนเชื้อโรคและสารเคมีปนเปื้อนในอาหารด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (Test Kit) 3. ส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัย มีการพัฒนาให้ผ่านเกณฑ์การบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green Service) 4. ประชาสัมพันธ์และส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข (D-M-H-T-T-A) โดยเคร่งครัด 5. ส่งเสริมให้ผู้ประกอบกิจการด้านอาหารและผู้สัมผัสอาหารเข้ารับการประเมินความรู้ด้านการสุขาภิบาลอาหารของกรุงเทพมหานคร ทั้งในรูปแบบ Class Room และการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Study)

** ปัญหาของโครงการ :ไม่มี

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

(7) ความคืบหน้าโครงการฯ ร้อยละ 15.00 (2022-04-25)

15.00

25/04/2565 : 1. ตรวจประเมินด้านสุขลักษณะ/ด้านกายภาพของสถานประกอบการอาหารทั้งรายต่ออายุและรายใหม่ 2. ตรวจเฝ้าระวังการปนเปื้อนเชื้อโรคและสารเคมีปนเปื้อนในอาหารด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (Test Kit) 3. ส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัย มีการพัฒนาให้ผ่านเกณฑ์การบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green Service) 4. ประชาสัมพันธ์และส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข (D-M-H-T-T-A) โดยเคร่งครัด 5. ส่งเสริมให้ผู้ประกอบกิจการด้านอาหารและผู้สัมผัสอาหารเข้ารับการประเมินความรู้ด้านการสุขาภิบาลอาหารของกรุงเทพมหานคร ทั้งในรูปแบบ Class Room Online และการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Study)

** ปัญหาของโครงการ :เนื่องด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ยังไม่คลี่คลาย ส่งผลให้สถานประกอบการอาหารบางแห่ง ต้องหยุดดำเนินการเป็นการชั่วคราว ได้แก่ สถานที่จำหน่ายอาหารในสถานศึกษา เป็นต้น

** อุปสรรคของโครงการ :ไม่มี

------------------&&&--------------------

แผนการดำเนินงานฯ

ขั้นตอน 1
:ขั้นตอนที่ 1 ขออนุมัติโครงการ
:10.00%
เริ่มต้น :2021-11-01 00:00:00
สิ้นสุด :2021-11-01 00:00:00
ขั้นตอน 2
:ขั้นตอนที่ 2ดำเนินการตรวจสอบเฝ้าระวังคุณภาพอาหารในสถานประกอบการ
:80.00%
เริ่มต้น :2021-12-01 00:00:00
สิ้นสุด :2021-12-01 00:00:00
ขั้นตอน 3
:ขั้นตอนที่ 3 รายงานผลการดำเนินงาน
:10.00%
เริ่มต้น :2022-09-01 00:00:00
สิ้นสุด :2022-09-01 00:00:00

(ทดสอบ) แสดงขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ : 50420000-3709

(คลิก) ขั้นตอนการปฏิบัติงานของโครงการ : 50420000-3709

สนับสนุนตัวชี้วัดตามแผนฯ

รายละเอียดเกี่ยวกับตัวชี้วัด : 5042-6506

ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครมีบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และมีมาตรการป้องกันโรคโควิด 19 (COVID-19) ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 70

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome)

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
5.00

100 / 0
2
10.00

100 / 50
3
70.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

** ผลการประเมินโครงการ (รายไตรมาส) **