Showing 1-229 of 229 items.
แสดงโครงการฯ/กิจกรรม : สำนักอนามัย :: ()
# | สำนัก/สำนักงานเขต | Actions (สยป.3) | สยป.3 | Report Date | ชื่อโครงการ | ชื่อ OKR | ผลดำเนินการ | Report Note |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 03-07-2025 | กิจกรรมพัฒนาคลินิกสุขภาพเพศหลากหลาย | ร้อยละของคนเสี่ยงสูงที่เข้ามารับบริการคลินิกสุขภาพเพศหลากหลายต้องได้รับการตรวจคัดกรอง HIV | 96.49 | ข้อมูลเดือนมิถุนายน 2568 ผู้รับบริการที่มารับบริการในคลินิกสุขภาพเพศหลากหลายในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ยกเว้นโรงพยาบาลวชิรพยาบาล ที่ได้รับการตรวจคัดกรอง HIV = 2,164 คน หารด้วยผู้มารับบริการที่มารับบริการในคลินิกสุขภาพเพศหลากหลายในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ยกเว้นโรงพยาบาลวชิรพยาบาล = 2,243 คน ทั้งหมด คูณด้วย 100 คิดเป็นร้อยละ 96.48 ข้อมูลเฉลี่ยสะสม 9 เดือน(ต.ค.2567 - มิ.ย.2568) ผู้รับบริการที่มารับบริการในคลินิกสุขภาพเพศหลากหลายในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ยกเว้นโรงพยาบาลวชิรพยาบาล ที่ได้รับการตรวจคัดกรอง HIV = 12,774 คน หารด้วยผู้มารับบริการที่มารับบริการในคลินิกสุขภาพเพศหลากหลายในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ยกเว้นโรงพยาบาลวชิรพยาบาล = 13,238 คน ทั้งหมด คูณด้วย 100 คิดเป็นร้อยละ 96.49 |
2 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 03-07-2025 | โครงการพัฒนาระบบบริการส่งเสริมทันตสุขภาพเชิงรุกในกลุ่มผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง โดยใช้ กล้องส่องภายในช่องปาก | ร้อยละของผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงและต้องการเยี่ยมบ้านหรือการดูแลแบบประคับประคองได้รับการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน | 100 | กำลังดำเนินกิจกรรมที่ 3 ทีมเยี่ยมบ้านของศูนย์บริการสาธารณสุขทั้ง 69 แห่ง บูรณาการจัดบริการตรวจประเมินสภาวะสุขภาพช่องปากเชิงรุกร่วมกับสุขภาพกายและการให้คำแนะนำและการส่งต่อรักษาทางทันตกรรมในกลุ่มผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ร้อยละทีมเยี่ยมบ้านตรวจและทำแผน (ผลผลิต) = 69 แห่ง คิดเป็นร้อยยละ 100 ผู้สูงอายุได้รับการส่งต่อเข้าระบบ (ผลลัพธ์) =9 คน |
3 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 03-07-2025 | กิจกรรมไข้หวัดใหญ่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 48.97 | ยอดผู้รับบริการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ระหว่างวันที่ 1 – 15 มิ.ย.68 มีผู้รับบริการฉีดวัคซีน จำนวน 20,108 ราย คิดเป็นร้อยละ 15.28 (เมื่อเทียบกับจำนวนวัคซีนที่ได้รับการจัดสรรทั้งหมด จำนวน 131,620 โดส) ยอดรวมสะสม เดือนพ.ค. – 15 มิ.ย.68 จำนวนผู้รับบริการทั้งสิ้น 64,455.ราย คิดเป็นร้อยละ 48.97 (เมื่อเทียบกับจำนวนวัคซีนที่ได้รับการจัดสรรทั้งหมด จำนวน 131,620 โดส) |
4 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 03-07-2025 | กิจกรรมส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพในการดูแลสุขภาพช่องปากเพื่อป้องกันการเกิดโรคในช่องปาก | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | ดำเนินการตรวจสุขภาพช่องปาก และเก็บข้อมูลสภาวะช่องปากเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ก่อนเริ่มกิจกรรมเรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่างจัดกิจกรรมสอนทันตสุขศึกษา และฝึกทักษะการแปรงฟันนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 |
5 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 03-07-2025 | กิจกรรมการส่งต่อผู้เข้าบำบัดรักษาไปยังศูนย์ฟื้นฟูสภาพทางสังคม | ร้อยละของผู้ที่ได้รับการฟื้นฟูสภาพทางสังคม | 67.11 | กิจกรรมการส่งต่อผู้เข้าบำบัดรักษาไปยังศูนย์ฟื้นฟูสภาพทางสังคม ผลการดำเนินงานในเดือนมิถุนายน 2568 จำนวนผู้ขอรับการช่วยเหลือ จำนวน 298 ราย ให้ความช่วยเหลือได้ 200 ราย อยู่ระหว่างให้การช่วยเหลือ จำนวน 65 คน และไม่สามารถติดต่อได้ จำนวน 23 ราย คิดเป็นร้อยละ 67.11 |
6 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 03-07-2025 | โครงการการบริหารจัดการระบบลูกโซ่ความเย็นและมาตรฐานงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (เงินนอกงบประมาณฯ 40,800 บาท) | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | การประเมินผลการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของศูนย์บริการสาธารณสุขดำเนินการเสร็จสิ้นแล้ว อยู่ในระหว่างการรวบรวมข้อมูล ตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อจัดทำผลสรุปการตรวจประเมินผลการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของศูนย์บริการสาธารณสุขในภาพรวมต่อไป |
7 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 03-07-2025 | โครงการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดในพื้นที่กรุงเทพมหานคร (งบเงินอุดหนุน 1,952,500 บาท) | ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดเข้าสู่ระบวนการบำบัดรักษา ได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพต่อเนื่องจนถึงการติดตาม (Retention Rate) | 57.46 | Retention Rate ปี 2568 ทุกระบบยกเว้นต้องโทษ จำนวนผู้เข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษาที่พ้นระยะการบำบัดรักษาและได้รับการจําหน่ายทั้งหมด จำนวน 4,086 ราย จำนวนผู้ที่ได้รับการติดตามดูแลช่วยเหลืออย่างต่อเนื่องหลังการบำบัดรักษา จำนวน 2,348 ราย คิดเป็นร้อยละ 57.46 (ข้อมูลประจำเดือนมิถุนายน 2568) |
8 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 03-07-2025 | โครงการให้บริการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 13.79 | อยู่ในระหว่างให้บริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่แก่นักเรียนกลุ่มเป้าหมาย โดยผลการดำเนินงานรวมทุกศูนย์บริการสาธารณสุข ระหว่างวันที่ 1 – 15 มิ.ย.68 มีผู้รับบริการฉีดวัคซีน จำนวน 9,108 ราย คิดเป็นร้อยละ 13.79 (เมื่อเทียบกับจำนวนนักเรียนประจำปีการศึกษา 2568 จำนวน 66,028 คน) |
9 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 03-07-2025 | โครงการการบริการป้องกันและดูแลรักษาโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ์ (งบเงินอุดหนุน 33,839,900 บาท) | ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10-10 (3) | 99.24 | ร้อยละของผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่รู้สถานะการติดเชื้อได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสและสามารถกดไวรัสได้ ร้อยละ 99.24 (เนื่องจากมีการปรับฐานข้อมูล ในส่วนของ 95 ที่ 3 ตามระบบ BSMS เป็น (จำนวนผู้ติดเชื้อที่กดปริมาณไวไรได้สำเร็จ (<1,000 copies/mL) ทั้งหมดในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน /จำนวนผู้ติดเชื้อที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสและเข้าเกณฑ์ตรวจปริมาณไวรัสทั้งหมดในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน x100) = 14,726/14,839x 100 = 99.24) (ข้อมูลณวันที่ 1 กรกฎาคม 68) |
10 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 03-07-2025 | โครงการคลินิกให้คำปรึกษา (งบเงินอุดหนุน 3,856,500 บาท) | ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10-10 (5) | 0 | ผู้ติดเชื้อ HIV ที่รายงานว่าเคยถูกตีตราและเลือกปฏิบัติเนื่องจาก HIV ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา ซึ่งเป็นข้อมูลการสำรวจ (ปีเว้นปี) โดยกระทรวงสาธารณสุข และในปี 2568 รอดำเนินการสำรวจในช่วงเดือนพฤษภาคม-กรกฎาคม จึงรายงานเป็น 0 |
11 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 03-07-2025 | โครงการคลินิกให้คำปรึกษา (งบเงินอุดหนุน 3,856,500 บาท) | ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10-10 (3) | 99.24 | ร้อยละของผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่รู้สถานะการติดเชื้อได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสและสามารถกดไวรัสได้ ร้อยละ 99.24 (เนื่องจากมีการปรับฐานข้อมูล ในส่วนของ 95 ที่ 3 ตามระบบ BSMS เป็น (จำนวนผู้ติดเชื้อที่กดปริมาณไวไรได้สำเร็จ (<1,000 copies/mL) ทั้งหมดในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน /จำนวนผู้ติดเชื้อที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสและเข้าเกณฑ์ตรวจปริมาณไวรัสทั้งหมดในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน x100) = 14,726/14,839x 100 = 99.24) (ข้อมูลณวันที่ 1 กรกฎาคม 68) |
12 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 03-07-2025 | โครงการคลินิกให้คำปรึกษา (งบเงินอุดหนุน 3,856,500 บาท) | ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10 10 (2) | 96.94 | จํานวนผู้ติดเชื้อเอชไอวี ที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสเอชไอวี ทั้งหมด ในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน = 16,888 คน หารด้วยผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ยังมีชีวิตอยู่รู้สถานะการติดเชื้อของตนเองทั้งหมดใน สถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน = 17,421 คน *100 คิดเป็นร้อยละ 96.94 |
13 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 03-07-2025 | กิจกรรมพัฒนาคลินิกสุขภาพเพศหลากหลาย | สัดส่วนของผู้ป่วยที่ปรึกษาแพทย์ผ่านระบบ telemedicine และ/หรือรับยาจากที่บ้านเทียบกับจำนวนผู้รับบริการทั้งหมด | 16.53 | ข้อมูลเดือนมิถุนายน 2568 จำนวนครั้งของผู้ป่วยคลินิกเพศหลากหลายที่มีการรับบริการผ่านระบบ Telemedicine และ/หรือรับยาจากที่บ้าน = 384 ครั้ง หารด้วยจำนวนครั้งของผู้ป่วยที่มีการรับบริการในคลินิกเพศหลากหลายในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ยกเว้นโรงพยาบาลวชิรพยาบาล ในปีงบประมาณ 2568 = 2,243 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 17.12 ข้อมูลเฉลี่ยสะสม 9 เดือน (ต.ค.2567 - มิ.ย.2568) จำนวนครั้งของผู้ป่วยคลินิกเพศหลากหลายที่มีการรับบริการผ่านระบบ Telemedicine และ/หรือรับยาจากที่บ้าน = 2,188 ครั้ง หารด้วยจำนวนครั้งของผู้ป่วยที่มีการรับบริการในคลินิกเพศหลากหลายในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ยกเว้นโรงพยาบาลวชิรพยาบาล ในปีงบประมาณ 2568 = 13,238 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 16.53 |
14 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 03-07-2025 | โครงการการบริการป้องกันและดูแลรักษาโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ์ (งบเงินอุดหนุน 33,839,900 บาท) | ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10-10 (5) | 0 | ผู้ติดเชื้อ HIV ที่รายงานว่าเคยถูกตีตราและเลือกปฏิบัติเนื่องจาก HIV ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา ซึ่งเป็นข้อมูลการสำรวจ (ปีเว้นปี) โดยกระทรวงสาธารณสุข และในปี 2568 รอดำเนินการสำรวจในช่วงเดือนพฤษภาคม-กรกฎาคม จึงรายงานเป็น 0 |
15 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 03-07-2025 | โครงการการบริการป้องกันและดูแลรักษาโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ์ (งบเงินอุดหนุน 33,839,900 บาท) | ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10-10 (4) | 0 | (จำนวนเรื่องร้องเรียนจากผู้รับบริการในสถานพยาบาล และกลุ่มเปราะบางในพื้นที่กรุงเทพมหานครด้านกฎหมายและนโยบาย (0) x 100)/ จำนวนเรื่องร้องเรียนทั้งหมดจากผู้รับบริการในสถานพยาบาล และกลุ่มเปราะบางในพื้นที่กรุงเทพมหานคร (2) = (0x100)/2 = 0) (ข้อมูลณวันที่ 1 ก.ค. 68) แหล่งข้อมูล : ระบบรับเรื่องร้องเรียนและคุ้มครองการละเมิดสิทธิด้านเอดส์ เพศภาวะ และความเป็นกลุ่มประชากรเปราะบางต่อการถูกเลือกปฏิบัติ(CRS) |
16 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 03-07-2025 | โครงการการบริการป้องกันและดูแลรักษาโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ์ (งบเงินอุดหนุน 33,839,900 บาท) | ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10 10 (2) | 96.94 | จํานวนผู้ติดเชื้อเอชไอวี ที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสเอชไอวี ทั้งหมด ในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน = 16,888 คน หารด้วยผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ยังมีชีวิตอยู่รู้สถานะการติดเชื้อของตนเองทั้งหมดใน สถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน = 17,421 คน *100 คิดเป็นร้อยละ 96.94 |
17 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 03-07-2025 | โครงการการบริการป้องกันและดูแลรักษาโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ์ (งบเงินอุดหนุน 33,839,900 บาท) | ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10 10 (1) | 100.64 | จํานวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ยังมีชีวิตอยู่รู้สถานะการติดเชื้อของตนเอง ทั้งหมด ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน = 89,779 คน หารด้วยจํานวนคาดประมาณผู้ติดเชื้อเอชไอวี ทั้งหมดในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน = 89,207 คน * 100 คิดเป็นร้อยละ 100.64 |
18 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 03-07-2025 | โครงการสื่อสารสร้างเมืองสุขภาพดี (เงินนอกงบประมาณฯ 2,670,050 บาท) | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | อยู่ระหว่างดำเนินการในขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้างตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 |
19 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 03-07-2025 | กิจกรรมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | อยู่ระหว่างจัดทำและพัฒนาสื่อส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพ ( 3อ 2ส 1ฟ) เพื่อสนับสนุนกิจกรรม และศูนย์บริการสาธารณสุข ดำเนินงานสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพแก่กลุ่มเป้าหมาย |
20 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 03-07-2025 | โครงการการบริการป้องกันและดูแลรักษาโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ์ (งบเงินอุดหนุน 33,839,900 บาท) | ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10-10 (6) | 1.8 | ผู้หญิงอยู่ร่วมกับเอชไอวี อายุ 15 – 49 มีประสบการณ์ถูกใช้ความรุนแรงในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา มีจำนวน 3 คน จากการสำรวจ จำนวน 164 คน = ข้อมูลได้มาจากผลการคำนวณในระบบรายงานการสํารวจ Stigma Index = 1.80 แหล่งข้อมูล : การสํารวจ Stigma Index โดยคณะกรรมการร่วมผู้อยู่ร่วมกับเอชไอวี (The PLHIV Stigma Index Task Force) ข้อมูล ณ วันที่ 1 กรกฎาคม 68 |
21 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 03-07-2025 | กิจกรรมสาระสุขภาพทางสื่อสาธารณะ | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | ดำเนินการรวบรวม ตรวจสอบเนื้อหาจัดทำสื่อฯ ภาพและข่าวสุขภาพ และเผยแพร่ทางสื่อออนไลน์ ในช่วงเดือนเมษายน - มิถุนายน 2568 และจัดทำแผนการเผยแพร่สื่อฯ ในช่วงเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2568 เรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่างประเมินผลการดำเนินงานในช่วงเมษายน - มิถุนายน 2568 |
22 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 03-07-2025 | กิจกรรมส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพผ่านตู้ประชาสัมพันธ์ตั้งพื้นแบบไม่สัมผัส | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | อยู่ระหว่างดำเนินการผลิตสื่อตามแผนที่กำหนด และเผยแพร่สื่อผ่านตู้ประชาสัมพันธ์ฯ |
23 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 03-07-2025 | โครงการคลินิกให้คำปรึกษา (งบเงินอุดหนุน 3,856,500 บาท) | ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10-10 (6) | 1.8 | ผู้หญิงอยู่ร่วมกับเอชไอวี อายุ 15 – 49 มีประสบการณ์ถูกใช้ความรุนแรงในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา มีจำนวน 3 คน จากการสำรวจ จำนวน 164 คน = ข้อมูลได้มาจากผลการคำนวณในระบบรายงานการสํารวจ Stigma Index = 1.80 แหล่งข้อมูล : การสํารวจ Stigma Index โดยคณะกรรมการร่วมผู้อยู่ร่วมกับเอชไอวี (The PLHIV Stigma Index Task Force) ข้อมูล ณ วันที่ 1 กรกฎาคม 68 |
24 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 03-07-2025 | โครงการพัฒนาประสิทธิภาพการบำบัดฟื้นฟูผู้เสพผู้ติดยาเสพติด (เงินนอกงบประมาณฯ 64,000 บาท) | ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดเข้าสู่ระบวนการบำบัดรักษา ได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพต่อเนื่องจนถึงการติดตาม (Retention Rate) | 57.46 | Retention Rate ปี 2568 ทุกระบบยกเว้นต้องโทษ จำนวนผู้เข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษาที่พ้นระยะการบำบัดรักษาและได้รับการจําหน่ายทั้งหมด จำนวน 4,086 ราย จำนวนผู้ที่ได้รับการติดตามดูแลช่วยเหลืออย่างต่อเนื่องหลังการบำบัดรักษา จำนวน 2,348 ราย คิดเป็นร้อยละ 57.46 (ข้อมูลประจำเดือนมิถุนายน 2568) |
25 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 03-07-2025 | โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายในการเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (เงินนอกงบประมาณฯ 522,200 บาท) | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | ดำเนินการติดตามและประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 2 |
26 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 03-07-2025 | กิจกรรมสนับสนุนการฝึกซ้อมแผนเผชิญเหตุ ระดับ 1 | จำนวนกลุ่มเขตที่ได้รับการฝึกซ้อมแผนเผชิญเหตุ ระดับ 1 (ฝึกซ้อมแผนเผชิญเหตุสาธารณภัย) | 3 | เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2568 ผู้แทน สนอ. ประกอบด้วย สก.สนอ. สรส. และกสภ. ได้เข้าร่วมประชุมคณะทำงานดำเนินการฝึกซ้อม แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ประจำปี 2568 ด้านการฝึกซ้อม เต็มรูปแบบ (Full Exercise :FSX) ซึ่งมี รผอ.สปภ.(ด้านปฏิบัติการ) เป็นประธานการประชุม ณ ห้องประชุมกองปฏิบัติการ ดับเพลิงและกู้ภัย สรุปได้ดังนี้ . 1. กำหนดฝีกซ้อมแผนฯ ระดับ 2 ในเดือนสิงหาคม 2568 กรณีเรือสำราญชนกับเรือบรรทุกทรายในแม่น้ำเจ้าพระยา ประกอบด้วย 1.1 ฝึกซ้อมแผนบนโต๊ะ (Table-Top Exercise :TTX) ก่อนวันจริง ณ สดพ.บางบอน ในวันที่ 21 สิงหาคม 2568 1.2 ฝึกซ้อมเต็มรูปแบบ (Full Exercise :FSX) ณ บริเวณพื้นที่ใต้สะพานพระราม 8 ฝั่งเขตบางพลัด ในวันที่ 29 สิงหาคม 2568 2. การกำหนดพื้นที่ รูปแบบ วิธีการ ระบบปฏิบัติการและการจัดตั้ง ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ 3. กำหนดสถานการณ์สมมติ กำหนดขั้นตอน วิธีการฝึกซ้อม และลำดับเวลา 4. จัดกำลัง คน วัสดุ อุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ อุปกรณ์การสื่อสาร อากาศยานไร้คนขับ 5. การประชาสัมพันธ์ 6. การดูแลการจัดระเบียบการจราจร ทั้งนี้ สปภ.จะนัดหมายประชุมคณะทำงานฯ และผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อจัดทำแผนการดำเนินงานต่อไป |
27 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 03-07-2025 | กิจกรรมผู้สูงวัยรอบรู้ด้านสุขภาพ | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | อยู่ระหว่างการดำเนินการจัดทำสื่อส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพสนับสนุนให้แก่ผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม และศูนย์บริการสาธารณสุข ได้ดำเนินงานสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพแก่ผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมาย |
28 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 03-07-2025 | โครงการคลินิกให้คำปรึกษา (งบเงินอุดหนุน 3,856,500 บาท) | ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10-10 (4) | 0 | (จำนวนเรื่องร้องเรียนจากผู้รับบริการในสถานพยาบาล และกลุ่มเปราะบางในพื้นที่กรุงเทพมหานครด้านกฎหมายและนโยบาย (0) x 100)/ จำนวนเรื่องร้องเรียนทั้งหมดจากผู้รับบริการในสถานพยาบาล และกลุ่มเปราะบางในพื้นที่กรุงเทพมหานคร (2) = (0x100)/2 = 0) (ข้อมูลณวันที่ 1 ก.ค. 68) แหล่งข้อมูล : ระบบรับเรื่องร้องเรียนและคุ้มครองการละเมิดสิทธิด้านเอดส์ เพศภาวะ และความเป็นกลุ่มประชากรเปราะบางต่อการถูกเลือกปฏิบัติ(CRS) |
29 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 03-07-2025 | โครงการคลินิกให้คำปรึกษา (งบเงินอุดหนุน 3,856,500 บาท) | ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10 10 (1) | 100.64 | จํานวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ยังมีชีวิตอยู่รู้สถานะการติดเชื้อของตนเอง ทั้งหมด ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน = 89,779 คน หารด้วยจํานวนคาดประมาณผู้ติดเชื้อเอชไอวี ทั้งหมดในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน = 89,207 คน * 100 คิดเป็นร้อยละ 100.64 |
30 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 03-07-2025 | โครงการส่งเสริมการจัดการสารเคมีและวัตถุอันตรายในสถานประกอบการและภาวะฉุกเฉิน(กิจกรรมที่ 5 จัดทำแบบตรวจประเมินสถานประกอบการเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่สำนักงานเขต) | จำนวนชุดข้อมูลความเสี่ยงที่ได้รับการปรับปรุงให้เป็นปัจจุบัน | 1 | สำนักงานเขตและสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยได้ดำเนินการตรวจประเมินสถานีบริการน้ำมันและสถานีบริการก๊าซปิโตรเลียมเหลว พร้อมส่งข้อมูลให้กับสำนักอนามัยเรียบร้อยแล้ว โดยขณะนี้สำนักอนามัยกำลังดำเนินการจัดส่งข้อมูลจากการตรวจให้สำนักการวางผังและพัฒนาเมืองเพื่อนำลงสู่ระบบฐานข้อมูลดิจิทัลพื้นที่จุดเสี่ยงภัย (BKK Risk Map) แผนที่เสี่ยงภัยด้านสารเคมี |
31 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 03-07-2025 | กิจกรรมพัฒนาคลินิกสุขภาพเพศหลากหลาย | จำนวนประชาชนที่เข้ารับบริการกับคลินิกสุขภาพเพศหลากหลายเพิ่มขึ้น (สนพ. 2,300 คน, สนอ. 8,400 คน) | 2243 | จำนวนผู้รับบริการประจำ เดือนมิถุนายน 2568 จำนวน 2,243 คน |
32 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 02-07-2025 | กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการแก้ไขเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ ในระบบ Traffy Fondue | สัดส่วนจำนวนเรื่องค้างต่อเรื่องร้องเรียนทั้งหมด | 80 | จากเรื่องร้องเรียนในระบบ Traffy Fondue ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 - 1 กรกฎาคม 2568 สำนักอนามัยไม่มีเรื่องคงค้างในระบบ |
33 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 02-07-2025 | กิจกรรมการค้นหาและรักษาผู้ติดเชื้อวัณโรคระยะแฝงของศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | ค้นหาวัณโรคระยะแฝงจำนวนทั้งหมด 13 ราย ติดเชื้อวัณโรคระยะแฝง IGRA 4 ราย TST 0 ราย ขึ้นทะเบียนรักษาผู้ติดเชื้อวัณโรคระยะแฝง 6 ราย |
34 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 02-07-2025 | โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายการควบคุมวัณโรคในกรุงเทพมหานคร ตามแผนงานวัณโรคแห่งชาติ (เงินนอกงบประมาณฯ 505,000 บาท) | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | อยู่ระหว่างรอดำเนินกิจกรรม ที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาประสิทธิภาพงาน ควบคุมป้องกันวัณโรคสถานพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร วันที่ 17-18 กรกฎาคม 2568 |
35 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 02-07-2025 | กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการแก้ไขเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ ในระบบ Traffy Fondue | ร้อยละของเรื่องทั้งหมดที่แจ้งผ่าน Traffy Fondue ได้รับการแก้ไข | 93.84 | จากเรื่องร้องเรียนในระบบ Traffy Fondue ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – 1 กรกฎาคม 2568 เรื่องร้องเรียนมีจำนวนทั้งหมด 422 เรื่อง มีเรื่องเสร็จสิ้น 396 เรื่อง คิดเป็น 93.84% |
36 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 02-07-2025 | โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัยที่ดี สะอาด ปลอดภัย (กิจกรรมที่ 4 การพัฒนาห้องน้ำสาธารณะในพื้นที่ สาธารณะของกรุงเทพมหานคร) | ร้อยละของห้องน้ำสาธารณะที่ผ่านการประเมิน HAS ได้รับการนำเข้าในฐานข้อมูลระบบแผนที่ดิจิตัล | 88.43 | ดำเนินการรวบรวมและจัดส่งข้อมูลกลุ่มเป้าหมายห้องน้ำสาธารณะที่ผ่านการประเมิน HAS จากสำนักงานเขต (R) ในระยะที่ 1 และ 2 จำนวน 3,754 แห่ง ให้สำนักดิจิทัลกรุงเทพมหานครนำเข้าสู่ระบบแผนที่ดิจิทัล ปัจจุบันแผนที่ระยะที่ 1 และ 2 สามารถใช้งานได้และอยู่ระหว่างให้สำนักงานเขตตรวจสอบข้อมูลอีกครั้ง และอยู่ระหว่างรวบรวมข้อมูลห้องน้ำฯในระยะที่ 3 จากระบบของกรมอนามัยให้สำนักดิจิทัลกรุงเทพมหานครนำเข้าสู่ระบบแผนที่ดิจิทัลเพิ่มเติม คิดเป็นร้อยละ 88.43 หมายเหตุ - ข้อมูล ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2568 - จำนวนห้องน้ำสาธารณะที่ผ่านการประเมิน HAS แล้ว = 4,245 แห่ง - ร้อยละ = (จำนวนห้องน้ำตรวจประเมินผ่าน HAS และลงแผนที่ฯ แล้ว * 100) / จำนวนห้องน้ำทั้งหมดตรวจประเมินแล้วผ่าน HAS |
37 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 02-07-2025 | โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติงานเฝ้าระวัง สอบสวน ควบคุมโรคติดต่อพื้นที่กรุงเทพมหานคร (เงินนอกงบประมาณฯ 296,200 บาท) | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 50 | ศูนย์บริการสาธารณสุข/สำนักงานเขต มีการรายงาน สอบสวน ควบคุมโรคติดต่อ 50 เขต |
38 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 02-07-2025 | โครงการส่งเสริมความรู้และป้องกันวัณโรคเชิงรุกในปีงบประมาณ 2568 | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | อยู่ระหว่างติดตามผลการดำเนินงาน |
39 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 02-07-2025 | โครงการการจัดทำแผนปฏิบัติราชการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อประจำปี 2568 (เงินนอกงบประมาณฯ 335,200 บาท) | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 100 | สรุปแผนปฏิบัติราชการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อประจำปี 2568 เรียบร้อยแล้ว งบประมาณที่ใช้ไปจริง 292,000 บาท คงเหลือ 43,200 บาท |
40 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 02-07-2025 | กิจกรรมสนับสนุนการฝึกซ้อมแผนเผชิญเหตุ ระดับ 1 | จำนวนกลุ่มเขตที่ได้รับการฝึกซ้อมแผนเผชิญเหตุ ระดับ 1 (ฝึกซ้อมแผนเผชิญเหตุสาธารณภัย) | 0 | - สก.สนอ.ประสานส่วนราชการสังกัดสำนักอนามัยที่จัดกิจกรรมฝึกซ้อมแผนเผชิญเหตุ ระดับ 1 เรียบร้อยแล้ว ตั้งแต่ พ.ย. 67 – พ.ค. 68 มีส่วนราชการที่ดำเนินการฝึกซ้อมแล้ว จำนวน 8 ส่วนราชการ กรุงเทพตะวันออก, กรุงธนเหนือ, กรุงเทพใต้ - สปภ.มีหนังสือที่ กท 1802/783 ลงวันที่ 30 เมษายน 2568 ประสานสำนักอนามัยขอให้ส่งรายชื่อข้าราชการที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยเข้าร่วมการฝึกซ้อมแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ประจำปี พ.ศ. 2568 ในช่วงเดือนกรกฎาคม - สิงหาคม 2568 จำนวน 3 กิจกรรม ดังนี้ กิจกรรมที่ 1 TTX ซ้อนแผนชนิดบนโต๊ะ น้ำท่วมขัง ระดับสำนักงานเขต กิจกรรมที่ 2 TTX ซ้อนแผนชนิดบนโต๊ะ อุทกภัย ระดับกรุงเทพมหานคร วันที่ 3 ก.ค.68 (สถานีดับเพลิงบางบอน) กิจกรรมที่ 3 FSX ซ้อมแผนชนิดเต็มรูปแบบ เกิดเพลิงไหม้บนเรือสำราญในแม่น้ำเจ้าพระยา วันที่ 19 ก.ค. 68 (ใต้สะพานพระราม 8 เขตบางพลัด) ผู้เข้าร่วมการฝึกซ้อมแผนประกอบด้วย จนท. จากส่วนราชการ ดังนี้ - สรส. = 3 คน - กสภ. = 3 คน - ศบส.65 = 4 คน - ศบส.31 = 4 คน - สก.สนอ.= 2 คน |
41 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 02-07-2025 | โครงการพัฒนา ประเมินและรับรองคุณภาพศูนย์บริการสาธารณสุข | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | อยู่ระหว่างการดำเนินการประเมิน รับรองคุณภาพศูนย์บริการสาธารณสุข จากสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) (สรพ.) ตามแผนการเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุข ประจำเดือนกรกฎาคม 2568 |
42 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 02-07-2025 | กิจกรรมค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ใน 7 กลุ่มเสี่ยงวัณโรค รวมทั้งในสถานประกอบการและในชุมชนที่เข้าถึงยากและกลุ่มคนไร้บ้าน | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | - ค้นหาวัณโรครายใหม่ใน 7 กลุ่มเสี่ยงวัณโรครวมทั้งในสถานประกอบการ และในชุมชนที่เข้าถึงยาก และกลุ่มคนไร้บ้าน - เก็บรวบรวมผลการปฏิบัติงาน ทุกเดือน รวบรวม - ประเมินผลการดำเนินงาน ประจำเดือนมิถุนายน 2568 |
43 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 02-07-2025 | โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัยที่ดี สะอาด ปลอดภัย (กิจกรรมที่ 4 การพัฒนาห้องน้ำสาธารณะในพื้นที่ สาธารณะของกรุงเทพมหานคร) | 29. ร้อยละของห้องน้ำสาธารณะที่ผ่านการประเมิน HAS | 89.95 | ห้องน้ำสาธารณะทั้งหมดในกรุงเทพมหานคร ประจำปี 2568 จำนวน 4,738 แห่ง ระยะที่ 1 ตรวจประเมินแล้ว จำนวน 2,338 แห่ง ผ่าน HAS จำนวน 2,289 แห่ง ไม่ผ่าน HAS จำนวน 23 แห่ง ปิดปรับปรุง 10 แห่ง ปิดกิจการ 16 แห่ง ระยะที่ 2 ตรวจประเมินแล้ว จำนวน 1,479 แห่ง ผ่าน HAS จำนวน 1,465 แห่ง ไม่ผ่าน HAS จำนวน 8 แห่ง ปิดปรับปรุง 3 แห่ง ปิดกิจการ 3 แห่ง ระยะที่ 3 ตรวจประเมินแล้ว จำนวน 610 แห่ง ผ่าน HAS จำนวน 491 แห่ง ไม่ผ่าน HAS จำนวน 119 แห่ง รวมทั้ง 3 ระยะ ผ่านเกณฑ์ HAS จำนวน 4,245 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 89.95 หมายเหตุ - ข้อมูล ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2568 - จำนวนห้องน้ำสาธารณะทั้งหมดที่สำรวจได้ในปี 2568 และยังไม่ปิดกิจการ = 4,719 แห่ง - ร้อยละ = (จำนวนห้องน้ำที่ตรวจประเมินแล้วผ่าน HAS * 100) / จำนวนห้องน้ำสาธารณะทั้งหมดที่สำรวจได้ในปี 2568 และยังไม่ปิดกิจการ |
44 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 02-07-2025 | กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการแก้ไขเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ ในระบบ Traffy Fondue | ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยในการแก้ไขปัญหา (แจกแจงรายหน่วยงาน) | 3.86 | จากข้อมูลในระบบ Traffy Fondue ความพึงพอใจของประชาชนอยู่ที่ 3.86/5 (1 ตุลาคม 2567 – 1 กรกฎาคม 2568) จากผู้ประเมิน 129 ครั้ง 5 ดาว : 73 คน, 4 ดาว : 18 คน, 3 ดาว : 9 คน, 2 ดาว : 5 คน, 1 ดาว : 24 คน |
45 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 02-07-2025 | กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการแก้ไขเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ ในระบบ Traffy Fondue | สัดส่วนจำนวนเรื่องที่ดำเนินการเสร็จสิ้นต่อเรื่องทั้งหมด | 93.84 | จากเรื่องร้องเรียนในระบบ Traffy Fondue ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2567 – 1 กรกฎาคม 2568 เรื่องร้องเรียนมีจำนวนทั้งหมด 422 เรื่อง มีเรื่องเสร็จสิ้น 396 เรื่อง คิดเป็น 93.84% |
46 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 02-07-2025 | ปรับปรุงหน่วยบริการเภสัชกรรม | จำนวนศูนย์บริการสาธารณสุข หรือหน่วยปฏิบัติการของสำนักอนามัยที่ได้รับการปรับปรุง | 0 | ดำเนินการขนย้ายยาและเวชภัณฑ์บางส่วนไปยังห้องเวรรักษาความปลอดภัย ชั้น 1 อาคาร 1 (สำนักการโยธา) และกำหนดดำเนินเข้าปรับปรุงหน่วยบริการเภสัชกรรมในวันที่ 7 ก.ค. 2568 |
47 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 02-07-2025 | โครงการพัฒนาศักยภาพการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุระยะท้ายแบบประคับประคอง | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | โครงการพัฒนาศักยภาพการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุระยะท้ายแบบประคับประคอง ปีงบประมาณ 2568 ดำเนินการเสร็จสิ้นแล้ว และผู้ป่วยระยะท้าย ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง จำนวน 561 ราย จากจำนวนผู้ป่วยระยะท้ายได้รับการดูแลจากศูนย์บริการสาธารณสุขทั้งหมด 561 ราย (ข้อมูล ณ เดือน พฤษภาคม 2568) คิดเป็นร้อยละ 100 |
48 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 02-07-2025 | กิจกรรมประสานส่งต่อผู้ป่วยวัณโรคอย่างมีประสิทธิภาพ โดยศูนย์กลางการส่งต่อผู้ป่วยวัณโรค (TB Referral Center) | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 98.33 | ผลการดำเนินงาน ผู้ป่วยวัณโรคที่ดำเนินการส่งต่อ ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 มิถุนายน 2568 จำนวนผู้ป่วยที่ส่งต่อทั้งสิ้น จำนวน 419 ราย 1. จำนวนผู้ป่วยที่ส่งต่อถึงปลายทาง จำนวน 412 ราย 2. จำนวนผู้ป่วยที่ส่งต่อยังไม่ถึงปลายทาง จำนวน 5 ราย (ยังไม่ถึงวันนัด) 3. จำนวนผู้ป่วยที่ส่งต่อไม่ถึงปลายทาง จำนวน 2 ราย (ติดต่อไม่ได้/เสียชีวิต/ย้ายที่อยู่) คิดเป็นร้อยละ 98.33 |
49 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 02-07-2025 | โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน | จำนวน care giver ที่ผ่านการอบรม หลักสูตร 70 ชม. | 0 | ดำเนินการจัดการอบรมสร้างผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน หลักสูตรการดูแลผู้สูงอายุขั้นกลาง 70 ชั่วโมง เรียบร้อยแล้ว มีผู้ผ่านการอบรม จำนวน 810 คน |
50 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 02-07-2025 | โครงการอาสาสมัครกรุงเทพมหานครด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาและสารเสพติด (เงินนอกงบประมาณฯ 740,220 บาท) | 27. ร้อยละของชุมชนจดจัดตั้งที่มีความเสี่ยง และเฝ้าระวังปัญหาด้านยาเสพติด | 0 | ความคืบหน้าการดำเนินงานชุมชนจดจัดตั้งที่มีความเสี่ยง และเฝ้าระวังปัญหาด้านยาเสพติด จำนวน 2,003 ชุมชน โดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได่แก่ 1) ชุมชนเฝ้าระวัง 201 ชุมชม ในพื้นที่ 43 เขต ยกเว้นคลองเตย จตุจัก ดุสิต พระนคร วัฒนา สัมพันธวงศ์ และสายไหม ดำเนินการแล้ว รวม 200 ชุมชน ในพื้นที่ครบ 43 เขต (ร้อยละ 99.50) 2) ชุมชนรักษาสภาพ (เป้าหมาย 347 ชุมชน ในพื้นที่ 48 เขต ยกเว้นเขตบางนา และ พญาไท) ดำเนินการแล้ว รวม 347 ชุมชน ในพื้นที่ 48 เขต (ร้อยละ 100) และ 3) ชุมชนทั่วไป 1,455 ชุมชน |
51 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 02-07-2025 | โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัยที่ดี สะอาด ปลอดภัย (กิจกรรมที่ 4 การพัฒนาห้องน้ำสาธารณะในพื้นที่ สาธารณะของกรุงเทพมหานคร) | ร้อยละของห้องน้ำที่ไม่ผ่านเกณฑ์ประเมินจากปีที่ผ่านมา แล้วได้รับการแก้ไข | 76.38 | ตรวจประเมินห้องน้ำสาธารณะที่ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ HAS ในปี 2567 จํานวน 847 แห่ง พบว่าสถานที่ที่มีห้องน้ำสาธารณะที่ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ HAS ในปี 2567 เลิกกิจการและไม่เข้านิยามห้องน้ำสาธารณะ 12 กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 72 แห่ง คงเหลือจำนวนห้องน้ำสาธารณะที่ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ HAS ในปี 2567 ทั้งหมด 775 แห่ง ตรวจประเมินแล้ว 646 แห่ง พบว่าปรับปรุงผ่านเกณฑ์ HAS แล้ว จำนวน 592 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 76.38 หมายเหตุ - ข้อมูล ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2568 - ร้อยละ = (จำนวนห้องน้ำที่ตรวจประเมินแล้วและผ่าน HAS * 100) / จำนวนห้องน้ำที่ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ HAS ในปี 2567 ที่เข้านิยามและยังไม่ปิดกิจการ |
52 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 02-07-2025 | กิจกรรมรักษาผู้ป่วยวัณโรคด้วยระบบการกำกับกินยาแบบมีพี่เลี้ยง (DOT/VOT) ที่มีคุณภาพ | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 90.71 | อัตราความสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภท ไตรมาสที่ 3/2567 (ย้อนหลัง 1 ปีงบประมาณ) ผู้ป่วยวัณโรคที่รักษาสำเร็จ 127 ราย ผู้ป่วยวัณโรคที่นำมาประเมิน 140 ราย อัตราความสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภท 90.71 อัตราความสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภทต้องรายงานย้อนหลัง1ปี เนื่องจากการรักษาวัณโรค ต้องใช้เวลา 6-12 เดือน แล้วแต่กรณี |
53 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 02-07-2025 | กิจกรรมการดำเนินงานส่งเสริมทักษะสมอง EF (Executive Functions) | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดในเด็กปฐมวัย ด้วยแนวคิดการพัฒนาทักษะสมอง EF (Executive Functions) ดำเนินการจัดกิจกรรม จำนวน 3 กิจกรรม ดังนี้ 1. การจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะสมอง EF (Executive Functions) ดำเนินการโดยผู้ดูแลเด็ก หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง กับเด็กปฐมวัยในศูนย์บริการสาธารณสุข สถานรับเลี้ยงเด็กกลางวัน สังกัดสำนักอนามัย และในชุมชน (โดย อสส.เชี่ยวชาญยาเสพติด) จำนวน 9,701 ครั้ง 2. การให้ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาทักษะสมอง EF (Executive Functions) แก่ผู้ปกครอง และประชาชนทั่วไป จำนวน 1,623 ครั้ง 3. การจัดนิทรรศการ และมุมให้ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาทักษะสมอง EF (Executive Functions) จำนวน 1,375 ครั้ง |
54 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 02-07-2025 | โครงการกรุงเทพมหานครเขตปลอดบุหรี่ (เงินนอกงบประมาณฯ 1,015,500 บาท) | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | ดำเนินการจัดกิจกรรมที่ 1 -3 เรียบร้อยแล้ว กำลังดำเนินการสรุปผลการดำเนินโครงการเพื่อส่งผู้บริหาร |
55 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 01-07-2025 | โครงการบูรณาการความร่วมมือในการพัฒนาประสิทธิภาพการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล (เงินนอกงบประมาณฯ 782,260 บาท) | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 20.22 | จำนวนผู้ป่วย 1,103 ราย อัตราป่วย = 20.22 ((จำนวนผู้ป่วยปี 2568*100,000 )/ จำนวนประชากรปี 2567 = (1,103*100,000) /5,455,020) ค่าเปอร์เซ็นไทล์ที่ 6.53 (ข้อมูลสถานการณ์โรคไข้เลือดออกกรุงเทพมหานคร สัปดาห์ที่ ที่ 25 (ข้อมูลวันที่ 1 มกราคม - 21 มิถุนายน 2568) ****เกณฑ์ = อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกปี2568 น้อยกว่าค่าเปอร์เซ็นไทล์ที่ 50 ของข้อมูล 5 ปีย้อนหลัง = 152.64 ต่อประชากรแสนคน หรือจำนวนผู้ป่วย 8,438 ราย**** |
56 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 01-07-2025 | โครงการจัดบริการฟื้นฟูสุขภาพ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหว | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | กิจกรรมที่ 1 อยู่ระหว่างตรวจเอกสารการขออนุมัติโอนกรรมสิทธิ์ กิจกรรมที่ 2 อยู่ระหว่างรวบรวมรายชื่อ เพื่อขออนุมัติโอนกรรมสิทธิ์สังหาริมทรัพย์ที่ไม่มีลักษณะเป็นการจำหน่าย กิจกรรมที่ 3 นักสังคมสงเคราะห์ร่วมกับนักกายภาพบำบัดประเมินความพิการและความสามารถในการใช้ชีวิตประจำวัน (ADL) และประเมินคุณภาพชีวิตก่อนได้รับอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหว |
57 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 01-07-2025 | โครงการร้านยาเครือข่าย สำนักอนามัย (เงินนอกงบประมาณฯ 50220 บาท) | ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ ศูนย์บริการสาธารณสุขและเครือข่ายร้านขายยาในเขตพื้นที่บริการของ 7 Health Zone ได้รับการเชื่อมโยงระบบ Tele - Health | 100 | ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ ศูนย์บริการสาธารณสุขและเครือข่ายร้านขายยาในเขตพื้นที่บริการของ 7 Health Zone ได้รับการเชื่อมโยงระบบ Tele – health (ค่าเป้าหมาย ร้อยละ 100 ; ดำเนินการแล้วร้อยละ 100 ; ศูนย์บริการสาธารณสุขเชื่อมครบทั้ง 69 แห่ง) ** เพิ่มเติมข้อมูลจากข้อเสนอแนะของ สยป.ค่ะ โครงการร้านยาเครือข่าย สำนักอนามัย ปัจจุบันมีจำนวนร้านยาเครือข่าย ทั้งสิ้น 167 ร้าน ซึ่งทางกองเภสัชกรรม สำนักอนามัย ได้กำหนดเกณฑ์ในการคัดเลือกร้านยาที่ประสงค์เข้าร่วมเครือข่าย ประกอบด้วย 1. มีใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน (ขย.5) 2. เป็นร้านยาที่มีเภสัชกรอยู่ปฏิบัติหน้าที่ตลอดเวลาเปิดทำการ 3. สามารถดำเนินกิจกรรมร่วมกับสำนักอนามัยตามเกณฑ์ที่กำหนด ซึ่งทั้งนี้ ทางกองเภสัชกรรมได้ประชาสัมพันธ์ให้ร้านยาในกรุงเทพมหานคร ทั้งร้านยาในโครงการของ สปสช.และร้านยาเครือข่ายสำนักอนามัย เข้าร่วมศูนย์บริการสุขภาพเวชศาสตร์เขตเมือง (UMSC) สำนักอนามัย เพื่อเพิ่มการเชื่อมโยง ประสานและส่งต่อข้อมูลได้ครอบคลุมพื้นที่กทม. |
58 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 01-07-2025 | โครงการพัฒนาศักยภาพนักสังคมสงเคราะห์เพื่อการจัดบริการสังคมสงเคราะห์ (เงินนอกงบประมาณฯ 35,520 บาท) | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | กิจกรรมที่ 1 และ 2 ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว กิจกรรมที่ 3 ดำเนินการประชุมกรณีศึกษาในงานสังคมสงเคราะห์ ดังนี้ ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2568 จำนวน 4 กรณีศึกษา ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 8 ฑฤษภาคม 2568 จำนวน 4 กรณีศึกษา และอยู่ระหว่างดำเนินการ 1 ครั้ง กำหนดจัดประชุมวันที่ 16 กรกฎาคม 2568 |
59 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 01-07-2025 | โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรสายงานเภสัชกรรม | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | ดำเนินการเบิกจ่ายงบประมาณเรียบร้อยแล้ว โดยอยู่ระหว่างติดตามผลการดำเนินงานของศูนย์บริการสาธารณสุข |
60 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 01-07-2025 | โครงการจัดบริการมิติสุขภาพเพื่อการเข้าถึงสิทธิสวัสดิการสำหรับคนพิการ | ร้อยละชุมชนได้รับบริการตรวจประเมินเพื่อออกใบรับรองความพิการเชิงรุก (จำนวนประชาชนที่ได้รับการออกใบรับรองความพิการเชิงรุก) | 100 | จากรายงานผลการดำเนินงานเพื่อเข้าถึงสิทธิสวัสดิการของคนพิการ เดือนตุลาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 พบว่า มีชุมชนในพื้นที่กรุงเทพมหานครที่แจ้งความประสงค์เข้ารับบริการได้รับบริการเพื่อประเมินความพิการ จำนวน 1,182 ชุมชน 1,591 คน ได้รับการออกเอกสารรับรองความพิการเพื่อประเมินความพิการเชิงรุก จำนวน 1,512 คน ประเมินความพิการแล้วไม่เข้าหลักเกณฑ์ความพิการหรือไม่สามารถออกเอกสารรับรองความพิการ จำนวน 57 คน และส่งต่อ จำนวน 17 คน อื่น ๆ 5 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ของคนพิการที่เข้าถึงสิทธิสวัสดิการ |
61 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 01-07-2025 | โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ (เงินนอกงบประมาณฯ 171,530 บาท) | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | ศบส. และ กภก. มีการดำเนินกิจกรรมเสริมสร้างความรู้ (50%) ศบส. และ กภก. มีการดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ (50%) |
62 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 01-07-2025 | โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติงานเฝ้าระวัง สอบสวน ควบคุมโรคติดต่อพื้นที่กรุงเทพมหานคร (เงินนอกงบประมาณฯ 296,200 บาท) | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 70 | จำนวนทีมเฝ้าระวังสอบสวนควบคุมโรคติดต่อ โดยการส่งแบบสำรวจการจัดทำคำสั่งทีมเฝ้าระวังสอบสวนควบคุมโรคติดต่อสังกัดกรุงเทพมหานคร หลังการประชุม 1 เดือน (เดือนมิถุนายน) พบว่า มีทีมเฝ้าระวังสอบสวนควบคุมโรคติดต่อ จำนวน 70 ทีม ซึ่งผู้ปฏิบัติงานในทีมฯ ผ่านการอบรมหลักสูตรระบาดวิทยา ตามมาตรฐานทีมเฝ้าระวังสอบสวนโรคและภัยสุขภาพที่กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุขกำหนด |
63 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 01-07-2025 | โครงการบูรณาการความร่วมมือในการพัฒนาประสิทธิภาพการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล (เงินนอกงบประมาณฯ 782,260 บาท) | จำนวนชุดข้อมูลความเสี่ยงที่ได้รับการปรับปรุงให้เป็นปัจจุบัน | 1 | ส่งข้อมูลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกให้ผู้รับผิดชอบหลักเพื่อนำเข้าข้อมูล BKK Risk Map และพัฒนาระบบแผนที่ในข้อมูลเสี่ยงภัย (โรคไข้เลือดออก) แล้ว |
64 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 01-07-2025 | โครงการเสริมสร้างความรู้และทักษะการป้องกันความรุนแรงในครอบครัวสำหรับนักเรียนในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร (เงินนอกงบประมาณฯ 278,000 บาท) | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | กิจกรรมที่ 1 ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว กิจกรรมที่ 2 ดำเนินการอบรมเชิงปฏิบัติการ แล้วจำนวน 2 ครั้ง และอยู่ระหว่างดำเนินการ 4 ครั้ง ดังนี้ 1. โรงเรียนนาหลวง กลุ่มโซนกรุงธนใต้ วันที่ 20 มิถุนายน 2568 นักเรียน จำนวน 102 คน 2. โรงเรียนวิชูทิศ กลุ่มโซนกรุงเทพกลาง วันที่ 25 มิถุนายน 2568 นักเรียน จำนวน 103 คน กิจกรรมที่ 3 อยู่ระหว่างดำเนินการ |
65 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 01-07-2025 | โครงการจัดบริการมิติสุขภาพเพื่อการเข้าถึงสิทธิสวัสดิการสำหรับคนพิการ | ร้อยละของผู้มีความประสงค์ขอรับการสนับสนุนกายอุปกรณ์ได้รับการสนับสนุน (จำนวนประชาชนที่ได้รับการออกใบรับรองความพิการเชิงรุก) | 100 | จากรายงานผลการดำเนินงานเพื่อเข้าถึงสิทธิสวัสดิการของคนพิการ เดือนตุลาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 พบว่า ผู้ที่ประเมินความพิการ มีความประสงค์ขอรับอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหว ได้รับการสนับสนุนอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหวตามความต้องการจำเป็นต้องใช้กายอุปกรณ์ในการดำเนินชีวิตประจำวัน หรือส่งต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จำนวน 170 คน ได้รับการสนับสนุนอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหว หรือส่งต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จำนวน 170 คน คิดเป็นร้อยละ 100 |
66 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 30-06-2025 | โครงการพัฒนาตลาด Premium Market ของกรุงเทพมหานคร (เงินนอกงบประมาณฯ 338,925 บาท) | จำนวนตลาดที่มีการบำบัดน้ำเสียเป็นไปตามมาตรฐานน้ำทิ้งที่กฎหมายกำหนด | 0 | ตลาดที่มีการบำบัดน้ำเสียเป็นไปตามมาตรฐานน้ำทิ้งที่กฎหมายกำหนด จำนวน 10 แห่ง จากเป้าหมายจำนวนทั้งสิ้น 26 แห่ง ได้แก่ 1. ตลาดอ่อนนุชเพชรมาร์ท เขตวัฒนา 2. ตลาดหทัยมิตร เขตคลองสามวา 3. ตลาดสดนครไทย เขตบางกะปิ 4. ตลาดนครเพชรเกษม เขตหนองแขม 5.ตลาดอุดมผล เขตลาดกระบัง 6. ตลาด AEC รามคำแหง เขตมีนบุรี 7. ตลาดเมืองทอง 1 เขตหลักสี่ 8.ตลาดสดเคะทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ 9. ตลาดมณีพิมาน เขตบางแค 10. ตลาดศูนย์การค้าบางแค เขตบางแค (ข้อมูล ณ วันที่ 25 มิถุนายน 2568) เนื่องจากการปรับปรุงระบบบำบัดน้ำเสียของตลาดบางแห่งจำเป็นต้องใช้งบประมาณในการดำเนินการสูง จึงเป็นอุปสรรคในการดำเนินงานตามตัวชี้วัดที่กำหนด ทั้งนี้ กองสุขาภิบาลอาหารและสำนักการระบายน้ำจะมีการประชุมเพื่อหาแนวทางการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ในวันที่ 30 มิถุนายน 2568 |
67 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 30-06-2025 | กิจกรรมการดำเนินการตามนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร นโยบาย ที่ 171 มุ่งเป้าติดตั้งระบบบำบัดน้ำเสียต้นทาง | จำนวนตลาดที่มีการบำบัดน้ำเสียเป็นไปตามมาตรฐานน้ำทิ้งที่กฎหมายกำหนด | 0 | ตลาดที่มีการบำบัดน้ำเสียเป็นไปตามมาตรฐานน้ำทิ้งที่กฎหมายกำหนด จำนวน 10 แห่ง จากเป้าหมายจำนวนทั้งสิ้น 26 แห่ง ได้แก่ 1. ตลาดอ่อนนุชเพชรมาร์ท เขตวัฒนา 2. ตลาดหทัยมิตร เขตคลองสามวา 3. ตลาดสดนครไทย เขตบางกะปิ 4. ตลาดนครเพชรเกษม เขตหนองแขม 5.ตลาดอุดมผล เขตลาดกระบัง 6. ตลาด AEC รามคำแหง เขตมีนบุรี 7. ตลาดเมืองทอง 1 เขตหลักสี่ 8.ตลาดสดเคะทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ 9. ตลาดมณีพิมาน เขตบางแค 10. ตลาดศูนย์การค้าบางแค เขตบางแค (ข้อมูล ณ วันที่ 25 มิถุนายน 2568) เนื่องจากการปรับปรุงระบบบำบัดน้ำเสียของตลาดบางแห่งจำเป็นต้องใช้งบประมาณในการดำเนินการสูง จึงเป็นอุปสรรคในการดำเนินงานตามตัวชี้วัดที่กำหนด ทั้งนี้ กองสุขาภิบาลอาหารและสำนักการระบายน้ำจะมีการประชุมเพื่อหาแนวทางการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ในวันที่ 30 มิถุนายน 2568 |
68 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 30-06-2025 | กิจกรรมการดำเนินการตามนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร นโยบาย ที่ 171 มุ่งเป้าติดตั้งระบบบำบัดน้ำเสียต้นทาง | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 100 | ผลตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร 8 ชนิด ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (ข้อมูล ณ วันที่ 1 ต.ค. 67 - 31 พ.ค. 68) มีการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 51,857 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์ฯ/ไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 51,824 ตัวอย่าง (ร้อยละ 99.94) ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 33 ตัวอย่าง (ร้อยละ 0.06) ทั้งนี้ ตัวอย่างที่ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อน ได้รับการแก้ไขพร้อมทั้งดำเนินการเก็บตัวอย่างตรวจซ้ำและไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 33 ตัวอย่าง ดังนั้น ผลการดำเนินการร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ คิดเป็นร้อยละ 100 |
69 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 30-06-2025 | กิจกรรมขับเคลื่อนการดำเนินงาน กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 14.6 | สถานประกอบการอาหารที่ได้การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2567 – 30 มิถุนายน 2568 รายละเอียด ดังนี้ 1) สถานประกอบการอาหารที่ได้รับใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้ง ทั้งหมด 24,080 ราย 2) สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดี/เกรด C ตามกฎหมาย (ระดับ 3 ดาว) จำนวน 11,739 ราย คิดเป็นร้อยละ 48.75 3) สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด B (ระดับ 4 ดาว/Green Service) จำนวน 6,370 ราย คิดเป็นร้อยละ 26.45 4) สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีเลิศ/เกรด A (ระดับ 5 ดาว/Green Service Plus) จำนวน 3,515 ราย คิดเป็นร้อยละ 14.60 (ข้อมูลจากระบบสารสนเทศงานสุขาภิบาลอาหาร ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2568) |
70 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 30-06-2025 | กิจกรรมขับเคลื่อนการดำเนินงาน กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 100 | ผลตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร 8 ชนิด ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (ข้อมูล ณ วันที่ 1 ต.ค. 67 - 31 พ.ค. 68) มีการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 51,857 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์ฯ/ไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 51,824 ตัวอย่าง (ร้อยละ 99.94) ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 33 ตัวอย่าง (ร้อยละ 0.06) ทั้งนี้ ตัวอย่างที่ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อน ได้รับการแก้ไขพร้อมทั้งดำเนินการเก็บตัวอย่างตรวจซ้ำและไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 33 ตัวอย่าง ดังนั้น ผลการดำเนินการร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ คิดเป็นร้อยละ 100 |
71 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 30-06-2025 | โครงการพัฒนาตลาด Premium Market ของกรุงเทพมหานคร (เงินนอกงบประมาณฯ 338,925 บาท) | จำนวนตลาดที่ขอรับบริการบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร | 0 | ตลาดที่ขอรับบริการบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร จำนวน 3 แห่ง ได้แก่ 1. ตลาดนครเพชรเกษม เขตหนองแขม 2. ตลาดมณีพิมาณ เขตบางซื่อ 3. ตลาดศูนย์การค้าบางแค เขตบางแค เนื่องจากการปรับปรุงระบบบำบัดน้ำเสียของตลาดบางแห่งจำเป็นต้องใช้งบประมาณในการดำเนินการสูง จึงเป็นอุปสรรคในการดำเนินงานตามตัวชี้วัดที่กำหนด ทั้งนี้ กองสุขาภิบาลอาหารและสำนักการระบายน้ำจะมีการประชุมเพื่อหาแนวทางการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ในวันที่ 30 มิถุนายน 2568 |
72 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 30-06-2025 | โครงการพัฒนาตลาด Premium Market ของกรุงเทพมหานคร (เงินนอกงบประมาณฯ 338,925 บาท) | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 100 | ผลตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร 8 ชนิด ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (ข้อมูล ณ วันที่ 1 ต.ค. 67 - 31 พ.ค. 68) มีการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 51,857 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์ฯ/ไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 51,824 ตัวอย่าง (ร้อยละ 99.94) ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 33 ตัวอย่าง (ร้อยละ 0.06) ทั้งนี้ ตัวอย่างที่ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อน ได้รับการแก้ไขพร้อมทั้งดำเนินการเก็บตัวอย่างตรวจซ้ำและไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 33 ตัวอย่าง ดังนั้น ผลการดำเนินการร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ คิดเป็นร้อยละ 100 |
73 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 30-06-2025 | กิจกรรมการดำเนินการตามนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร นโยบาย ที่ 171 มุ่งเป้าติดตั้งระบบบำบัดน้ำเสียต้นทาง | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 14.6 | สถานประกอบการอาหารที่ได้การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2567 – 30 มิถุนายน 2568 รายละเอียด ดังนี้ 1) สถานประกอบการอาหารที่ได้รับใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้ง ทั้งหมด 24,080 ราย 2) สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดี/เกรด C ตามกฎหมาย (ระดับ 3 ดาว) จำนวน 11,739 ราย คิดเป็นร้อยละ 48.75 3) สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด B (ระดับ 4 ดาว/Green Service) จำนวน 6,370 ราย คิดเป็นร้อยละ 26.45 4) สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีเลิศ/เกรด A (ระดับ 5 ดาว/Green Service Plus) จำนวน 3,515 ราย คิดเป็นร้อยละ 14.60 (ข้อมูลจากระบบสารสนเทศงานสุขาภิบาลอาหาร ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2568) |
74 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 30-06-2025 | กิจกรรมขับเคลื่อนการดำเนินงาน กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย | จำนวนตลาดที่ขอรับบริการบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร | 0 | ตลาดที่ขอรับบริการบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร จำนวน 3 แห่ง ได้แก่ 1. ตลาดนครเพชรเกษม เขตหนองแขม 2. ตลาดมณีพิมาณ เขตบางซื่อ 3. ตลาดศูนย์การค้าบางแค เขตบางแค เนื่องจากการปรับปรุงระบบบำบัดน้ำเสียของตลาดบางแห่งจำเป็นต้องใช้งบประมาณในการดำเนินการสูง จึงเป็นอุปสรรคในการดำเนินงานตามตัวชี้วัดที่กำหนด ทั้งนี้ กองสุขาภิบาลอาหารและสำนักการระบายน้ำจะมีการประชุมเพื่อหาแนวทางการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ในวันที่ 30 มิถุนายน 2568 |
75 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 30-06-2025 | กิจกรรมการดำเนินการตามนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร นโยบาย ที่ 171 มุ่งเป้าติดตั้งระบบบำบัดน้ำเสียต้นทาง | จำนวนตลาดที่ขอรับบริการบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร | 0 | ตลาดที่ขอรับบริการบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร จำนวน 3 แห่ง ได้แก่ 1. ตลาดนครเพชรเกษม เขตหนองแขม 2. ตลาดมณีพิมาณ เขตบางซื่อ 3. ตลาดศูนย์การค้าบางแค เขตบางแค เนื่องจากการปรับปรุงระบบบำบัดน้ำเสียของตลาดบางแห่งจำเป็นต้องใช้งบประมาณในการดำเนินการสูง จึงเป็นอุปสรรคในการดำเนินงานตามตัวชี้วัดที่กำหนด ทั้งนี้ กองสุขาภิบาลอาหารและสำนักการระบายน้ำจะมีการประชุมเพื่อหาแนวทางการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ในวันที่ 30 มิถุนายน 2568 |
76 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 30-06-2025 | โครงการพัฒนาตลาด Premium Market ของกรุงเทพมหานคร (เงินนอกงบประมาณฯ 338,925 บาท) | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 14.6 | สถานประกอบการอาหารที่ได้การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2567 – 30 มิถุนายน 2568 รายละเอียด ดังนี้ 1) สถานประกอบการอาหารที่ได้รับใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้ง ทั้งหมด 24,080 ราย 2) สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดี/เกรด C ตามกฎหมาย (ระดับ 3 ดาว) จำนวน 11,739 ราย คิดเป็นร้อยละ 48.75 3) สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด B (ระดับ 4 ดาว/Green Service) จำนวน 6,370 ราย คิดเป็นร้อยละ 26.45 4) สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีเลิศ/เกรด A (ระดับ 5 ดาว/Green Service Plus) จำนวน 3,515 ราย คิดเป็นร้อยละ 14.60 (ข้อมูลจากระบบสารสนเทศงานสุขาภิบาลอาหาร ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2568) |
77 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 30-06-2025 | กิจกรรมขับเคลื่อนการดำเนินงาน กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย | จำนวนตลาดที่มีการบำบัดน้ำเสียเป็นไปตามมาตรฐานน้ำทิ้งที่กฎหมายกำหนด | 0 | ตลาดที่มีการบำบัดน้ำเสียเป็นไปตามมาตรฐานน้ำทิ้งที่กฎหมายกำหนด จำนวน 10 แห่ง จากเป้าหมายจำนวนทั้งสิ้น 26 แห่ง ได้แก่ 1. ตลาดอ่อนนุชเพชรมาร์ท เขตวัฒนา 2. ตลาดหทัยมิตร เขตคลองสามวา 3. ตลาดสดนครไทย เขตบางกะปิ 4. ตลาดนครเพชรเกษม เขตหนองแขม 5.ตลาดอุดมผล เขตลาดกระบัง 6. ตลาด AEC รามคำแหง เขตมีนบุรี 7. ตลาดเมืองทอง 1 เขตหลักสี่ 8.ตลาดสดเคะทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ 9. ตลาดมณีพิมาน เขตบางแค 10. ตลาดศูนย์การค้าบางแค เขตบางแค (ข้อมูล ณ วันที่ 25 มิถุนายน 2568) เนื่องจากการปรับปรุงระบบบำบัดน้ำเสียของตลาดบางแห่งจำเป็นต้องใช้งบประมาณในการดำเนินการสูง จึงเป็นอุปสรรคในการดำเนินงานตามตัวชี้วัดที่กำหนด ทั้งนี้ กองสุขาภิบาลอาหารและสำนักการระบายน้ำจะมีการประชุมเพื่อหาแนวทางการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ในวันที่ 30 มิถุนายน 2568 |
78 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 27-06-2025 | กิจกรรมการจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานของสำนักอนามัย | พัฒนาและปรับปรุงกระบวนงาน ข้อตกลงการให้บริการและการปฏิบัติงานให้สอดคล้องตามกฎหมายด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางอิเล็กทรอนิกส์ และจัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน | 0 | คณะทำงานฯ ของส่วนราชการ จัดส่ง (ร่าง) คู่มือการปฏิบัติงาน เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานของ สำนักอนามัย พิจารณาให้ความเห็นชอบ |
79 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 26-06-2025 | ปรับปรุงศูนย์บริการสาธารณสุข 68 สะพานสูง | จำนวนศูนย์บริการสาธารณสุข หรือหน่วยปฏิบัติการของสำนักอนามัยที่ได้รับการปรับปรุง | 0 | - อยู่ระหว่างบริหารสัญญา - อยู่ระหว่างดำเนินการแก้ไขสัญญา เนื่องจากมีการเพิ่มลดเนื้องาน |
80 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 26-06-2025 | ปรับปรุงศูนย์บริการสาธารณสุข 58 ล้อม-พิมเสน ฟักอุดม | จำนวนศูนย์บริการสาธารณสุข หรือหน่วยปฏิบัติการของสำนักอนามัยที่ได้รับการปรับปรุง | 0 | - เบิกจ่ายเงินให้ผู้รับจ้างเรียบร้อยแล้ว (2 พ.ค. 68 ) |
81 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 26-06-2025 | โครงการมหกรรมร่วมสร้างสุขภาวะและนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุขสำนักอนามัย ปี 2568 (เงินนอกงบประมาณฯ 1,111,300 บาท) | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | ดำเนินการจัดกิจกรรมประกวดและตัดสินผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข จำนวน 2 วัน (วันที่ 24 - 25 มิถุนายน 2568 ณ ห้องประชุม ชั้น 31 อาคารธานีนพรัตน์) เรียบร้อยแล้ว |
82 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 26-06-2025 | กิจกรรมติดตามความสำเร็จในการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรด้านการแพทย์และสาธารณสุข | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | อยู่ระหว่างประสาน รวบรวม โครงการมีเป้าหมายในการพัฒนาสมรรถนะข้าราชการหรือเป็นโครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนางานตามแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ.2568 สำนักอนามัย ที่ดำเนินการสำเร็จแล้ว |
83 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 26-06-2025 | โครงการฝึกอบรมหลักสูตรบริหารการแพทย์และสาธารณสุข สำนักอนามัย รุ่นที่ 12 (เงินนอกงบประมาณฯ 5,144,800 บาท) | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | 1. จัดการฝึกอบรมตามแผน ได้แก่ จัดฝึกอบรม (แบบไป-กลับ) จำนวน 10 วัน จัดการดูงาน (แบบพักค้าง) ณ จังหวัดสงขลา จำนวน 4 วัน 3 คืน 2. ประสานวิทยากร สถานที่จัดอบรม และดูงาน ทั้งในกรุงเทพมหานคร ต่างจังหวัด และต่างประเทศ ทำหนังสือเชิญวิทยากรและขอดูงาน 3. ดำเนินการจัดหนังสือขออนุมัติข้าราชการ พร้อมเอกสารสารประกอบหนังสือขออนุมัติเดินทางไปดูงานต่างประเทศ ณ ประเทศญี่ปุ่น 4. ดำเนินการยืมเงินยืมใช้ในราชการ และจัดทำเอกสารประกอบการส่งหลักฐานการเบิกจ่ายเงิน การชดใช้ เงินยืมทดรองราชการตามสัญญาการยืมเงิน |
84 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 26-06-2025 | โครงการก่อสร้างอาคารศูนย์บริการสาธารณสุข 17 ประชานิเวศน์ | จำนวนศูนย์บริการสาธารณสุขที่ได้รับการสร้างทดแทน หรือ สร้างใหม่ | 0 | - แต่งตั้ง คกก.กำหนดราคากลาง - กำหนดประกาศเชิญชวน มิ.ย.-ก.ค.68 - คาดว่าจะลงนามสัญญา ก.ย.68 |
85 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 26-06-2025 | โครงการก่อสร้างอาคารศูนย์บริการสาธารณสุข 8 บุญรอด รุ่งเรือง | จำนวนศูนย์บริการสาธารณสุขที่ได้รับการสร้างทดแทน หรือ สร้างใหม่ | 0 | - อยู่ระหว่าง คกก.จัดทำแบบรูปรายการงานก่อสร้าง - กำหนดประกาศเชิญชวน พ.ค.-มิ.ย.68 - คาดว่าจะลงนามสัญญา ก.ย.68 |
86 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 26-06-2025 | ปรับปรุงศูนย์บริการสาธารณสุข 1 สะพานมอญ (เงินนอกงบประมาณฯ 5,800,000 บาท) | จำนวนศูนย์บริการสาธารณสุข หรือหน่วยปฏิบัติการของสำนักอนามัยที่ได้รับการปรับปรุง | 0 | - อยู่ระหว่างกําหนดแบบรูปรายการและประมาณราคา (สำนักการโยธา) |
87 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 26-06-2025 | ปรับปรุงศูนย์บริการสาธารณสุข 18 มงคล-วอน วังตาล | จำนวนศูนย์บริการสาธารณสุข หรือหน่วยปฏิบัติการของสำนักอนามัยที่ได้รับการปรับปรุง | 0 | - อยู่ระหว่างบริหารสัญญา - ผู้รับจ้างได้ดำเนินการปรับปรุง หลังมีการเพิ่มจำนวนคนงาน เพื่อเร่งรัดการปรับปรุง |
88 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 26-06-2025 | ปรับปรุงศูนย์บริการสาธารณสุข 10 สุขุมวิท (เงินนอกงบประมาณฯ 952,000 บาท) | จำนวนศูนย์บริการสาธารณสุข หรือหน่วยปฏิบัติการของสำนักอนามัยที่ได้รับการปรับปรุง | 0 | อยู่ระหว่างคณะกรรมการจัดทำแบบรูปรายการงานก่อสร้าง |
89 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 26-06-2025 | โครงการก่อสร้างอาคารศูนย์บริการสาธารณสุข 70 วังทองหลาง | จำนวนศูนย์บริการสาธารณสุขที่ได้รับการสร้างทดแทน หรือ สร้างใหม่ | 0 | - อยู่ระหว่างคณะกรรมการกำหนดราคากลาง - กำหนดประกาศเชิญชวน พ.ค.-มิ.ย.68 - คาดว่าจะลงนามสัญญา ก.ย.68 |
90 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 26-06-2025 | ปรับปรุงอาคารศูนย์บริการสาธารณสุข 12 จันทร์เที่ยง เนตรวิเศษ | จำนวนศูนย์บริการสาธารณสุข หรือหน่วยปฏิบัติการของสำนักอนามัยที่ได้รับการปรับปรุง | 0 | เริ่มสัญญา 17 พ.ค. 68 สิ้นสุดสัญญา 12 ธ.ค. 68 - อยู่ระหว่างบริหารสัญญา |
91 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 26-06-2025 | ปรับปรุงศูนย์บริการสาธารณสุข 36 บุคคโล | จำนวนศูนย์บริการสาธารณสุข หรือหน่วยปฏิบัติการของสำนักอนามัยที่ได้รับการปรับปรุง | 0 | - ดำเนินการครั้งที่ 2 (e-bidding) - ยื่นเสนอราคา 28 พ.ค. 68 - คาดว่าจะลงนามสัญญา มิ.ย. 68 |
92 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 26-06-2025 | โครงการก่อสร้างอาคารศูนย์บริการสาธารณสุข 40 บางแค สาขาวิจิตราอนามัย (ศูนย์แพทย์ชุมชนเมือง) | จำนวนศูนย์บริการสาธารณสุขที่ได้รับการสร้างทดแทน หรือ สร้างใหม่ | 0 | - จัดทำร่างสัญญา 15 พ.ค.68 - คาดว่าจะลงนามสัญญา มิ.ย. 68 |
93 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 26-06-2025 | โครงการก่อสร้างอาคารศูนย์บริการสาธารณสุข 64 คลองสามวา สาขาทรายกองดินใต้ (ศูนย์แพทย์ชุมชนเมือง) | จำนวนศูนย์บริการสาธารณสุขที่ได้รับการสร้างทดแทน หรือ สร้างใหม่ | 0 | ดำเนินการครั้งที่ 3 (โดยวิธีคัดเลือก) - เห็นชอบแบบรูปรายการงานก่อสร้าง 25.เม.ย.68 - เห็นชอบราคากลาง (15 พ.ค. 68) - เห็นชอบจัดซื้อจัดจ้างฯ (16 พ.ค. 68) - เชิญชวนผู้ประกอบการยื่นข้อเสนอฯ (19 -26 พ.ค.68) - ยื่นข้อเสนอราคาฯ (27 พ.ค. 68) - คาดว่าจะลงนามสัญญา มิ.ย.68 |
94 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 26-06-2025 | โครงการก่อสร้างอาคารศูนย์บริการสาธารณสุข 59 ทุ่งครุ | จำนวนศูนย์บริการสาธารณสุขที่ได้รับการสร้างทดแทน หรือ สร้างใหม่ | 0 | - แต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดราคากลาง - กำหนดประกาศเชิญชวน มิ.ย.-ก.ค.68 - คาดว่าจะลงนามสัญญา ก.ย.68 |
95 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 26-06-2025 | โครงการก่อสร้างอาคารศูนย์บริการสาธารณสุข 35 หัวหมาก | จำนวนศูนย์บริการสาธารณสุขที่ได้รับการสร้างทดแทน หรือ สร้างใหม่ | 0 | - อยู่ระหว่างคณะกรรมการกำหนดราคากลาง - กำหนดประกาศเชิญชวน พ.ค.-มิ.ย.68 - คาดว่าจะลงนามสัญญา ก.ย.68 |
96 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 26-06-2025 | ปรับปรุงศูนย์บริการสาธารณสุข 26 เจ้าคุณพระประยุรวงศ์ | จำนวนศูนย์บริการสาธารณสุข หรือหน่วยปฏิบัติการของสำนักอนามัยที่ได้รับการปรับปรุง | 0 | - ลงนามสัญญา 27 ธ.ค. 67 - สิ้นสุดสัญญา 26 มี.ค. 68 - ผลดำเนินการ 100 % - เบิกจ่ายเงินเรียบร้อยแล้ว |
97 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 26-06-2025 | ปรับปรุงศูนย์บริการสาธารณสุข 14 แก้ว สีบุญเรือง | จำนวนศูนย์บริการสาธารณสุข หรือหน่วยปฏิบัติการของสำนักอนามัยที่ได้รับการปรับปรุง | 0 | - อยู่ระหว่างบริหารสัญญา - ผู้รับเหมาเข้าพื้นที่การก่อสร้าง ดำเนินการไปแล้ว 30% เป็นไปตามแผน |
98 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 25-06-2025 | โครงการอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร ร่วมใจขจัดภัยสุขภาพ | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | โครงการอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร ร่วมใจขจัดภัยสุขภาพ กิจกรรมที่ 1 การสรรหาและพัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร ต้นแบบ ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว กิจกรรมที่ 2 การจัดประชุมคณะกรรมการพัฒนาเครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร - กำหนดจัดประชุมคณะกรรมการพัฒนาเครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 2/2568 ในวันที่ 17 กรกฎาคม 2568 |
99 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 25-06-2025 | โครงการอบรมเตรียมความพร้อมในการเป็นอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | โครงการอบรมเตรียมความพร้อมในการเป็นอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร ดำเนินการครบทุกกิจกรรม เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2568 อยู่ระหว่างกระบวนการขึ้นทะเบียนผู้ที่ผ่านการฝึกอบรม เป็นอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร |
100 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 25-06-2025 | โครงการอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร ร่วมใจขจัดภัยสุขภาพ | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | โครงการอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร ร่วมใจขจัดภัยสุขภาพ กิจกรรมที่ 1 การสรรหาและพัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร ต้นแบบ ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว กิจกรรมที่ 2 การจัดประชุมคณะกรรมการพัฒนาเครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร - กำหนดจัดประชุมคณะกรรมการพัฒนาเครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 2/2568 ในวันที่ 17 กรกฎาคม 2568 |
101 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 24-06-2025 | โครงการจ้างเหมาผ่าตัดทำหมันควบคุมจำนวนและฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า สุนัขและแมวจรจัดในพื้นที่กลุ่มเขตกรุงธนเหนือ | จำนวนสุนัขเเละเเมวที่ได้รับการผ่าตัดทำหมัน โดยกรุงเทพมหานครเเละเครือข่าย | 0 | จำนวนสุนัขเเละเเมวจรจัดที่ได้รับการผ่าตัดทำหมันในพื้นที่กลุ่มเขตกรุงธนเหนือประจำเดือนพฤษภาคม 2568 จำนวน 0 ตัว รวมจำนวนสุนัขเเละเเมวจรจัดที่ได้รับการผ่าตัดทำหมันทั้งสิ้น 1,856 ตัว |
102 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 24-06-2025 | โครงการพัฒนาศักยภาพทีมบริหารเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิระดับพื้นที่ (Area manager) รุ่นที่ 2 (เงินนอกงบประมาณฯ 307,960 บาท ) | ร้อยละของจำนวนคลินิกชุมชนอบอุ่นในเขตพื้นที่ กทม. มีการเชื่อมโยงเครือข่ายส่งต่อผู้ป่วยผ่านระบบ e-Referral (การเชื่อมระบบการส่งตัวและข้อมูลผู้ป่วยจากเครือข่ายปฐมภูมิ คลินิกอบอุ่น ร้านยามาตรฐาน ไปยังศูนย์บริการสาธารณสุข และ รพ.) | 92.63 | การเชื่อมระบบการส่งตัวและข้อมูลผู้ป่วยจากเครือข่ายปฐมภูมิ คลินิกอบอุ่น ร้านยามาตรฐาน ไปยังศูนย์บริการสาธารณสุข และ รพ. จำนวน 88 แห่ง จากคลิกนิกชุมชนที่เป็นเครือข่ายทั้งหมด 95 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 92.63 |
103 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 24-06-2025 | โครงการการตรวจเฝ้าระวังความปลอดภัยในเนื้อสัตว์ในสถานประกอบการ | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 96.89 | ผลการดำเนินงานประจำเดือนพฤษภาคม 2568 ตัวอย่างเนื้อสัตว์ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบเชื้อโรคอาหารเป็นพิษ จำนวน 177 ตัวอย่าง จากจำนวนตัวอย่างที่สุ่มตรวจจำนวน 177 ตัวอย่าง ผลการดำเนินงานสะสมตั้งเเต่เดือนตุลาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 ตัวอย่างเนื้อสัตว์ได้รับการสุ่มตรวจไม่พบเชื้อโรคอาหารเป็นพิษ จำนวน 1,340 ตัวอย่าง จากจำนวนตัวอย่างที่สุ่มตรวจทั้งหมดจำนวน 1,383 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 96.89 |
104 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 24-06-2025 | โครงการจ้างเหมาผ่าตัดทำหมันควบคุมจำนวนและฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าสุนัขและแมวจรจัดในพื้นที่กลุ่มเขตกรุงเทพใต้ | จำนวนสุนัขเเละเเมวที่ได้รับการผ่าตัดทำหมัน โดยกรุงเทพมหานครเเละเครือข่าย | 358 | จำนวนสุนัขเเละเเมวจรจัดที่ได้รับการผ่าตัดทำหมันในพื้นที่กลุ่มเขตกรุงเทพใต้ประจำเดือนพฤษภาคม 2568 จำนวน 358 ตัว รวมจำนวนสุนัขเเละเเมวจรจัดที่ได้รับการผ่าตัดทำหมันทั้งสิ้น 2,000 ตัว |
105 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 24-06-2025 | โครงการจ้างเหมาผ่าตัดทำหมันควบคุมจำนวนและฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า สุนัขและแมวจรจัดในพื้นที่กลุ่มเขตกรุงธนใต้ | จำนวนสุนัขเเละเเมวที่ได้รับการผ่าตัดทำหมัน โดยกรุงเทพมหานครเเละเครือข่าย | 838 | จำนวนสุนัขเเละเเมวจรจัดที่ได้รับการผ่าตัดทำหมันในพื้นที่กลุ่มเขตกรุงธนใต้ประจำเดือนพฤษภาคม 2568 จำนวน 838 ตัว รวมจำนวนสุนัขเเละเเมวจรจัดที่ได้รับการผ่าตัดทำหมันทั้งสิ้น 1,530 ตัว |
106 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 24-06-2025 | โครงการจ้างเหมาผ่าตัดทำหมันควบคุมจำนวนและฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า สุนัขและแมวจรจัดในพื้นที่กลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ | จำนวนสุนัขเเละเเมวที่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าโดยกรุงเทพมหานครเเละเครือข่าย | 0 | จำนวนสุนัขเเละเเมวจรจัดที่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในพื้นที่กลุ่มเขตกรุงเทพเหนือประจำเดือนพฤษภาคม 2568 จำนวน 0 ตัว รวมจำนวนสุนัขเเละเเมวจรจัดที่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าทั้งสิ้น 2000 ตัว |
107 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 24-06-2025 | โครงการจ้างเหมาผ่าตัดทำหมันควบคุมจำนวนและฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า สุนัขและแมวจรจัดในพื้นที่กลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ | จำนวนสุนัขเเละเเมวที่ได้รับการผ่าตัดทำหมัน โดยกรุงเทพมหานครเเละเครือข่าย | 0 | จำนวนสุนัขเเละเเมวจรจัดที่ได้รับการผ่าตัดทำหมันในพื้นที่กลุ่มเขตกรุงเทพเหนือประจำเดือนพฤษภาคม 2568 จำนวน 0 ตัว รวมจำนวนสุนัขเเละเเมวจรจัดที่ได้รับการผ่าตัดทำหมันทั้งสิ้น 2000 ตัว |
108 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 24-06-2025 | โครงการการตรวจเฝ้าระวังความปลอดภัยในเนื้อสัตว์ในสถานประกอบการ | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 56.25 | ผลการดำเนินการตรวจเฝ้าระวังความปลอดภัยในเนื้อสัตว์ในสถานประกอบการ ประจำเดือนพฤษภาคม 2568 สถานประกอบการที่ได้รับการตรวจครั้งที่ 1 จำนวน 0 เเห่ง สถานประกอบการที่ได้รับการตรวจครั้งที่ 2 จำนวน 118 เเห่ง ผลการดำเนินการตรวจเฝ้าระวังความปลอดภัยในเนื้อสัตว์ในสถานประกอบการสะสมตั้งเเต่เดือนตุลาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 สถานประกอบการที่ได้รับการตรวจครั้งที่ 1 จำนวน 731 เเห่ง เเละสถานประกอบการที่ได้รับการตรวจครั้งที่ 2 จำนวน 423 เเห่ง จากจำนวนสถานประกอบการทั้งสิ้น 752 เเห่ง คิดเป็นร้อยละ 56.25 |
109 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 24-06-2025 | โครงการจ้างเหมาผ่าตัดทำหมันควบคุมจำนวนและฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า สุนัขและแมวจรจัดในพื้นที่กลุ่มเขตกรุงเทพกลาง | จำนวนสุนัขเเละเเมวที่ได้รับการผ่าตัดทำหมัน โดยกรุงเทพมหานครเเละเครือข่าย | 374 | จำนวนสุนัขเเละเเมวจรจัดที่ได้รับการผ่าตัดทำหมันในพื้นที่กลุ่มเขตกรุงเทพกลางประจำเดือนพฤษภาคม 2568 จำนวน 374 ตัว รวมจำนวนสุนัขเเละเเมวจรจัดที่ได้รับการผ่าตัดทำหมันทั้งสิ้น 1,553 ตัว |
110 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 24-06-2025 | โครงการการตรวจเฝ้าระวังความปลอดภัยในเนื้อสัตว์ในสถานประกอบการ | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 85.53 | ผลการดำเนินงานประจำเดือนพฤษภาคม 2568 ให้คำเเนะนำปรับปรุงเเก้ไขเเก่สถานประกอบการจำหน่ายเนื้อสัตว์จนผ่านเกณฑ์การตรวจ จำนวน 6 เเห่ง จากจำนวนสถานประกอบการที่ไม่ผ่านเกณฑ์ทั้งสิ้น 7 เเห่ง ผลการดำเนินงานสะสมตั้งเเต่เดือนตุลาคม 2567 - พฤษภาคม 2568 ให้คำเเนะนำปรับปรุงเเก้ไขเเก่สถานประกอบการจำหน่ายเนื้อสัตว์จนผ่านเกณฑ์การตรวจทั้งสิ้นจำนวน 65 เเห่ง จากจำนวนสถานประกอบการที่ไม่ผ่านเกณฑ์ทั้งสิ้น 76 เเห่ง คิดเป็นร้อยละ 85.53 |
111 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 24-06-2025 | โครงการจ้างเหมาผ่าตัดทำหมันควบคุมจำนวนและฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า สุนัขและแมวจรจัดในพื้นที่กลุ่มเขตกรุงธนใต้ | จำนวนสุนัขเเละเเมวที่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าโดยกรุงเทพมหานครเเละเครือข่าย | 838 | จำนวนสุนัขเเละเเมวจรจัดที่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในพื้นที่กลุ่มเขตกรุงธนใต้ประจำเดือนพฤษภาคม 2568 จำนวน 838 ตัว รวมจำนวนสุนัขเเละเเมวจรจัดที่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าทั้งสิ้น 1,530 ตัว |
112 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 24-06-2025 | โครงการจ้างเหมาผ่าตัดทำหมันควบคุมจำนวนและฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า สุนัขและแมวจรจัดในพื้นที่กลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก | จำนวนสุนัขเเละเเมวที่ได้รับการผ่าตัดทำหมัน โดยกรุงเทพมหานครเเละเครือข่าย | 950 | จำนวนสุนัขเเละเเมวจรจัดที่ได้รับการผ่าตัดทำหมันในพื้นที่กลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออกประจำเดือนพฤษภาคม 2568 จำนวน 950 ตัว รวมจำนวนสุนัขเเละเเมวจรจัดที่ได้รับการผ่าตัดทำหมันทั้งสิ้น 3,834 ตัว |
113 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 24-06-2025 | โครงการจ้างเหมาผ่าตัดทำหมันควบคุมจำนวนและฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า สุนัขและแมวจรจัดในพื้นที่กลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก | จำนวนสุนัขเเละเเมวที่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าโดยกรุงเทพมหานครเเละเครือข่าย | 950 | จำนวนสุนัขเเละเเมวจรจัดที่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในพื้นที่กลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออกประจำเดือนพฤษภาคม 2568 จำนวน 950 ตัว รวมจำนวนสุนัขเเละเเมวจรจัดที่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าทั้งสิ้น 3,834 ตัว |
114 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 24-06-2025 | โครงการจ้างเหมาผ่าตัดทำหมันควบคุมจำนวนและฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าสุนัขและแมวจรจัดในพื้นที่กลุ่มเขตกรุงเทพใต้ | จำนวนสุนัขเเละเเมวที่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าโดยกรุงเทพมหานครเเละเครือข่าย | 358 | จำนวนสุนัขเเละเเมวจรจัดที่ได้รับการผ่าตัดทำหมันในพื้นที่กลุ่มเขตกรุงเทพใต้ประจำเดือนพฤษภาคม 2568 จำนวน 358 ตัว รวมจำนวนสุนัขเเละเเมวจรจัดที่ได้รับการผ่าตัดทำหมันทั้งสิ้น 2,000 ตัว |
115 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 24-06-2025 | โครงการจ้างเหมาผ่าตัดทำหมันควบคุมจำนวนและฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า สุนัขและแมวจรจัดในพื้นที่กลุ่มเขตกรุงธนเหนือ | จำนวนสุนัขเเละเเมวที่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าโดยกรุงเทพมหานครเเละเครือข่าย | 0 | จำนวนสุนัขเเละเเมวจรจัดที่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในพื้นที่กลุ่มเขตกรุงธนเหนือประจำเดือนพฤษภาคม 2568 จำนวน 0 ตัว รวมจำนวนสุนัขเเละเเมวจรจัดที่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าทั้งสิ้น 1,856 ตัว |
116 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 24-06-2025 | โครงการจ้างเหมาผ่าตัดทำหมันควบคุมจำนวนและฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า สุนัขและแมวจรจัดในพื้นที่กลุ่มเขตกรุงเทพกลาง | จำนวนสุนัขเเละเเมวที่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าโดยกรุงเทพมหานครเเละเครือข่าย | 374 | จำนวนสุนัขเเละเเมวจรจัดที่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในพื้นที่กลุ่มเขตกรุงเทพกลางประจำเดือนพฤษภาคม 2568 จำนวน 374 ตัว รวมจำนวนสุนัขเเละเเมวจรจัดที่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าทั้งสิ้น 1,553 ตัว |
117 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 17-06-2025 | โครงการจัดหาครุภัณฑ์เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อสนับสนุนการบริหารงานยุทธศาสตร์สำนักอนามัย (เงินนอกงบประมาณฯ 112,400 บาท) | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | อยู่ระหว่างรอการประกาศใช้หลักเกณฑ์การจัดซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์จาก สดท. ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการพิจารณากลั่นกรองโครงการด้านโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลกรุงเทพมหานคร เพื่อดำเนินการโครงการต่อไป |
118 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 17-06-2025 | โครงการฝึกอบรมหลักสูตรการบริหารการพยาบาล (ด้านบริหารอนามัย) รุ่นที่ 23 (เงินนอกงบประมาณฯ 5,210,600 บาท) | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 5 | อยู่ระหว่างการฝึกอบรมตามโครงการฝึกอบรมและวันที่ 23 - 27 จะมีการไปดูงานต่างจังหวัด พักค้าง ณ จังหวัดชัยนาท กำแพงเพชร ลำปาง นครสวรรค์หรือจังหวัดใกล้เคียง จำนวน 5 วัน 4 คืน |
119 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 17-06-2025 | โครงการขับเคลื่อนการบริหารแผนงานโครงการและการติดตามประเมินผลแผน สำนักอนามัย (เงินนอกงบประมาณฯ 121,750 บาท) | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | โครงการ/กิจกรรมประจำพื้นฐานของสำนักอนามัยมีจำนวน 10 โครงการ/กิจกรรม อยู่ระหว่างการดำเนินการ |
120 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 16-06-2025 | โครงการมหกรรมร่วมสร้างสุขภาวะและนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุขสำนักอนามัย ปี 2568 (เงินนอกงบประมาณฯ 1,111,300 บาท) | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | ส่งหนังสือเชิญคณะกรรมการตัดสินผลงานนวัตกรรมทางการแพทย์และสาธารณสุข และเชิญผู้ส่งผลงานนำเสนอผลงานนวัตกรรมฯ ระหว่างวันที่ 24 - 25 มิ.ย. 2568 |
121 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 13-06-2025 | กิจกรรมการรับ-ส่งต่อผู้ป่วยระหว่างโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์และศูนย์บริการสาธารณสุขผ่านระบบ e-Referral | ร้อยละของผู้ป่วยที่ต้องได้รับการส่งต่อจากปฐมภูมิไปยังโรงพยาบาลได้รับการส่งต่อภายในเวลา 15 นาที | 88.96 | จำนวนครั้งของผู้ป่วยที่ส่งต่อผ่านระบบ e-Referral ได้รับการนัดหมายภายใน 15 นาที เท่ากับ 9,341 ครั้ง จำนวนครั้งของผู้ป่วยที่ส่งต่อจากศูนย์บริการสาธารณสุขทั้งหมด เท่ากับ 10,500 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 88.96 (ข้อมูล ณ เดือน ต.ค. 67 - พ.ค. 68) |
122 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 13-06-2025 | โครงการจ้างเหมาบำรุงรักษาระบบเครือข่ายและโปรแกรมประยุกต์ (HCIS) | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 6 | ดำเนินการประชุมตรวจรับการจ้างเหมาบำรุงรักษาฯ (10 เดือน) งวดที่ 6 (เดือนพฤษภาคม 2568) เรียบร้อยแล้วเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2568 อยู่ระหว่างดำเนินการบำรุงรักษาฯงวดที่ 7 (เดือนมิถุนายน 2568) คิดเป็นร้อยละ 76 |
123 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 13-06-2025 | กิจกรรมยกระดับการเปลี่ยนผ่านดิจิทัลภาครัฐเพื่อบริหารราชการ ที่ยืดหยุ่น โปร่งใสคล่องตัว | องค์ประกอบ 2.3 ระดับความสำเร็จในการยกระดับการเปลี่ยนผ่านดิจิทัลภาครัฐเพื่อบริหารราชการที่ยืดหยุ่น โปร่งใสคล่องตัว | .5 | นำเข้าชุดข้อมูลเรียบร้อยแล้วในรอบเดือนพฤษภาคม 2568 ปัจจุบันอยู่ระหว่างนำเข้าข้อมูลตามแผนตามรอบระยะเวลา (รายเดือน) อยู่ระหว่างวิเคราะห์และรายงานผล โดยใช้ชุดข้อมูลสำคัญฯ ของหน่วยงานอย่างน้อย 1 ชุดข้อมูล ในรูปแบบดิจิทัล ตามแผนฯ ที่กำหนดภายในเดือนสิงหาคม 2568 (ผลการดำเนินงานตั้งแต่ ธ.ค. 67 - 13 มิถุนายน 68 คิดเป็นร้อยละ 3.0) |
124 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 13-06-2025 | กิจกรรมพัฒนาการบริหารจัดการระบบคิวของศูนย์บริการสาธารณสุข | ร้อยละของสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร มีการบริหารจัดการระบบคิว Digital ที่ Report เข้าสู่ส่วนกลาง | 0 | กำกับและติดตามการใช้งานฯ ประชาสัมพันธ์การใช้ระบบสุขภาพและพื้นที่เสี่ยง (Bangkok health map) ประจำเดือนพฤษภาคม 2568 |
125 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 13-06-2025 | โครงการจัดหาระบบคลาวด์สำหรับระบบสารสนเทศศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย (เงินนอกงบประมาณฯ 5,400,000 บาท) | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 6 | ดำเนินการประชุมตรวจรับงานฯ งวดที่ 8 (พฤษภาคม 68) เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2568 อยู่ระหว่างดำเนินการ งวด 9 (เดือน มิถุนายน 2568 ) คิดเป็นร้อยละ 76 |
126 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 13-06-2025 | กิจกรรมการรับ-ส่งต่อผู้ป่วยระหว่างโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์และศูนย์บริการสาธารณสุขผ่านระบบ e-Referral | ร้อยละของผู้ป่วยที่ต้องได้รับการส่งต่อจากปฐมภูมิไปยังโรงพยาบาลได้รับการส่งต่อภายในเวลา 30 นาที | 97.06 | จำนวนครั้งของผู้ป่วยที่ส่งต่อผ่านระบบ e-Referral ได้รับการนัดหมายภายใน 30 นาที เท่ากับ 10,191 ครั้ง จำนวนครั้งของผู้ป่วยที่ส่งต่อจากศูนย์บริการสาธารณสุขทั้งหมด เท่ากับ 10,500 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 97.06 (ข้อมูล ณ เดือน ต.ค. 67 - พ.ค. 68) |
127 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 13-06-2025 | กิจกรรมการรับ-ส่งต่อผู้ป่วยระหว่างโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์และศูนย์บริการสาธารณสุขผ่านระบบ e-Referral | ร้อยละของผู้ป่วยที่ต้องได้รับการส่งต่อจากปฐมภูมิไปยังโรงพยาบาลได้รับการส่งต่อภายในเวลา 30 นาที | 0 | จำนวนครั้งของผู้ป่วยที่ส่งต่อผ่านระบบ e-Referral ได้รับการนัดหมายภายใน 30 นาที เท่ากับ 8,995 ครั้ง จำนวนครั้งของผู้ป่วยที่ส่งต่อจากศูนย์บริการสาธารณสุขทั้งหมด เท่ากับ 9,269 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 97.04 (ข้อมูล ณ เดือน ต.ค. 67 - เม.ย. 68) |
128 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 12-06-2025 | โครงการปฐมนิเทศข้าราชการสายงานพยาบาลเพื่อพัฒนาศักยภาพในการปฏิบัติการพยาบาลสาธารณสุขพื้นฐานในหน่วยบริการปฐมภูมิ (เงินนอกงบประมาณฯ 167,400 บาท) | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | ประเมินผลและสรุปผลดำเนินโครงการเสนอผู้บริหาร เลขหนังสือ 0707/690 ลงวันที่ 28 พฤษภาคม 2568 |
129 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 12-06-2025 | โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรวิชาการด้านสุขาภิบาลอาหาร (เงินนอกงบประมาณฯ 210,400 บาท) | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | ร้อยละ 100 ของความสำเร็จของการจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรวิชาการด้านสุขาภิบาลอาหาร ครบทุกขั้นตอน |
130 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 12-06-2025 | โครงการการอบรมให้ความรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพแก่เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการตรวจวิเคราะห์ของศูนย์บริการสาธารณสุข | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | สรุปผลโครงการอบรมให้ความรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพแก่เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการตรวจวิเคราะห์ของศูนย์บริการสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2568 1. จำนวนผู้เข้ารับการอบรม ผ่านเกณฑ์การทดสอบความรู้ที่กำหนด ? 85% วิธืคำนวณ จำนวนผู้เข้ารับการอบรมที่มีผลการทดสอบความรู้ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด คูณด้วย 100 หารด้วยจำนวนผู้เข้ารับการอบรมทั้งหมด = (154 x 100) /154 = 100 สรุปผลจำนวนผู้เข้ารับการอบรม ผ่านเกณฑ์การทดสอบความรู้ที่กำหนด เท่ากับ 154 คน คิดเป็นร้อยละ 100 2. ศูนย์บริการสาธารณสุขที่เข้าร่วมโครงการและผ่านเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด ดังนี้ เกณฑ์มาตรฐาน จำนวนศูนย์บริการสาธารณสุขที่มีบุคลากรอย่างน้อย 1 คน ผ่านเกณฑ์การทดสอบความรู้ที่กำหนด ? 85% วิธืคำนวณจำนวนศูนย์บริการสาธารณสุขที่มีบุคลากรอย่างน้อย 1 คน ผ่านเกณฑ์การทดสอบความรู้ที่กำหนด คูณด้วย 100 หารด้วย จำนวนศูนย์บริการสาธารณสุข 69 แห่ง = (69 x 100) /69 = 100 สรุปผลจำนวนศูนย์บริการสาธารณสุขที่มีบุคลากรอย่างน้อย 1 คน ผ่านเกณฑ์การทดสอบความรู้ที่กำหนดเท่ากับ 69 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 |
131 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 12-06-2025 | โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรวิชาการด้านสุขาภิบาลอาหาร (เงินนอกงบประมาณฯ 210,400 บาท) | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | ผู้เข้าอบรมผ่านเกณฑ์การประเมินผลความรู้ด้านการสุขาภิบาลอาหาร ร้อยละ 100 |
132 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 12-06-2025 | โครงการอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร ร่วมใจขจัดภัยสุขภาพ | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | โครงการอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร ร่วมใจขจัดภัยสุขภาพ กิจกรรมที่ 1 การสรรหาและพัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร ต้นแบบ กิจกรรมที่ 1.1 จัดประกวดผลงานอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 - จัดประกวดผลงาน อสส. ดีเด่น ทุกระดับ เสร็จเรียบร้อย กิจกรรมที่ 1.2 จัดงานวันอาสาสมัครสาธารณสุขแห่งชาติ กรุงเทพมหานคร - จัดงานวันอาสาสมัครสาธารณสุขแห่งชาติ กรุงเทพมหานคร เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2568 ณ ห้อง Grand Ballroom ชั้น 4 โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น เขตหลักสี่ กิจกรรมที่ 2 การจัดประชุมคณะกรรมการพัฒนาเครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร - กำหนดจัดประชุมคณะกรรมการพัฒนาเครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 2/2568 (ภายในเดือน กรกฎาคม 2568) |
133 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 12-06-2025 | โครงการอบรมเตรียมความพร้อมในการเป็นอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | โครงการอบรมเตรียมความพร้อมในการเป็นอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร กิจกรรมการอบรมเตรียมความพร้อมในการเป็นอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร ได้ดำเนินการ ดังนี้ 1. ระยะแรก - รุ่นที่ 1 – 11 จัดฝึกอบรมฯ เรียบร้อยแล้ว ระหว่างวันที่ 5 – 28 กุมภาพันธ์ 2568 โดยมีประชาชนเข้ารับการอบรม จำนวน 668 คน - รุ่นที่ 12 – 15 จัดฝึกอบรมฯ เรียบร้อยแล้ว ระหว่างวันที่ 4 – 28 มีนาคม 2568 โดยมีประชาชนเข้ารับการอบรม จำนวน 168 คน - รุ่นที่ 16 – 17 จัดฝึกอบรมฯ เรียบร้อยแล้ว ระหว่างวันที่ 29 เมษายน – 2 พฤษภาคม 2568 โดยมีประชาชนเข้ารับการอบรม จำนวน 85 คน - รุ่นที่ 18 จัดฝึกอบรมฯ ระหว่างวันที่ 20 – 22 พฤษภาคม 2568 โดยมีประชาชนเข้ารับการอบรม จำนวน 44 คน 2. ระยะที่สอง - รุ่นที่ 19 จัดฝึกอบรมฯ เรียบร้อยแล้ว ระหว่างวันที่ 19 – 21 มีนาคม 2568 โดยมีประชาชนเข้ารับการอบรม จำนวน 29 คน |
134 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 11-06-2025 | กิจกรรมไข้หวัดใหญ่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | ยอดผู้รับบริการวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ วันที่ 16 – 31 พ.ค.68 มีผู้รับบริการทั้งสิ้น จำนวน 21,854 ราย คิดเป็นร้อยละ 16.60 (เมื่อเทียบกับจำนวนวัคซีนที่ได้รับการจัดสรรทั้งหมด จำนวน 131,620 โดส) ยอดรวมสะสมเดือนพฤษภาคม 2568 มีผู้รับบริการทั้งสิ้น จำนวน 44,347 ราย คิดเป็นร้อยละ 33.69 (เมื่อเทียบกับจำนวนวัคซีนที่ได้รับการจัดสรรทั้งหมด จำนวน 131,620 โดส) |
135 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 11-06-2025 | เงินสมทบกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 100 | ตามที่สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้มีหนังสือ ที่ สปสช.9.42/9766 เรื่อง การจัดสรรงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร ปีงบประมาณ พ.ศ.2568 สำนักงบประมาณกรุงเทพมหานครได้พิจารณาเห็นว่า เนื่องจากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติงดการจัดสรรเงินจากกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้แก่กองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร ในปีงบประมาณ พ.ศ.2568 เนื่องจากเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร คงเหลือมากกว่าหนึ่งเท่าของรายรับของกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร ในปีงบประมาณ พ.ศ.2567 จึงเห็นควรอนุมัติยกเลิกการดำเนินการงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 สำนักอนามัย ผลผลิตอำนวยการ และบริหารสำนัก งบเงินอุดหนุน รายการเงินสมทบกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร เป็นเงิน 205,932,800 บาท |
136 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 06-06-2025 | โครงการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันยาและสารเสพติดแบบครบวงจร | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | โครงการอยู่ระหว่างการขออนุมัติพิจารณาของคณะกรรมการกองทุนหลังประกันสุขภาพ |
137 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 06-06-2025 | กิจกรรมส่งเสริมการเผยแพร่ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างในระบบเผยแพร่ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐของหน่วยงานกรุงเทพมหานคร (E-GP BMA) | ข้อมูลในระบบเผยแพร่ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐของหน่วยงานกรุงเทพมหานคร (e-GP BMA) ถูกเปิดเผยอย่างครบถ้วน | 0 | ผลการดำเนินงาน ณ วันที่ 6 มิถุนายน 2568 1. ดำเนินการเวียนแจ้งส่วนราชการเรียบร้อยแล้ว 2. อยู่ระหว่างตรวจสอบรายการและจำนวนในระบบ MIS และ e-GP BMA ให้ถูกต้องตรงกัน 3. ประสานส่วนราชการดำเนินการปรับปรุงและแก้ไขในระบบ MIS และ e-GP BMA |
138 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 06-06-2025 | โครงการกรุงเทพฯ ห่วงใย ใส่ใจสุขภาพ | ร้อยละของชุมชนจัดตั้งใน กทม. ได้รับบริการเชิงรุกจากสำนักอนามัย | 41.95 | ออกหน่วยบริการเชิงรุกในชุมชนจัดตั้ง เดือน พฤษภาคม 2568 จำนวน 191 ชุมชน และมีจำนวนผู้รับบริการ 10,814 คน (ข้อมูลตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 พฤษภาคม 2568 มีจำนวนชุมชนทั้งหมด 841 ชุมชน จากชุมชนจดจัดตั้ง 2005 ชุมชน คิดเป็นร้อยละ 41.95 และมีผู้รับบริการสะสม 32,359 คน) |
139 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 06-06-2025 | กิจกรรมการติดตามและเร่งรัดการก่อหนี้ผูกพันรายการ/โครงการ ตามข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำงบประมาณ พ.ศ. 2568 (ประเภทงบลงทุน ค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง) ของสำนักอนามัย | ร้อยละความสำเร็จของการติดตามและประเมินผลการก่อหนี้ผูกพันงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 (ประเภทงบลงทุน ค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง) ของหน่วยรับงบประมาณกรุงเทพมหานคร | 92.31 | ก่อหนี้ผูกพัน ณ วันที่ 6 มิถุนายน 2568 งบลงทุนที่สำนักอนามัยดำเนินการทั้งหมด 52 รายการ ก่อหนี้ผูกพันแล้ว 47 รายการ รายละเอียด ดังนี้ 1. ค่าครุภัณฑ์ (37 รายการ) ก่อหนี้ผูกพันแล้ว (37 รายการ) 2. ค่าที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง 2.1 ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง (ไม่กิน 1 ปี) ( 9 รายการ) - สำนักอนามัยดำเนินการ 7 รายการ ก่อหนี้ผูกพันแล้ว 5 รายการ - โอนให้เขตธนบุรีดำเนินการ 2 รายการ 2.1 โครงการต่อเนื่อง 2.1.1 โครงการต่อเนื่องเดิม (ปี 2567-2568) (6 รายการ) ก่อหนี้ผูกพันแล้ว 6 รายการ 2.1.2 โครงการต่อเนื่องใหม่ (ปี 2568-2569) (7 รายการ) - สำนักอนามัยดำเนินการ 2 รายการ ยังไม่ก่อหนี้ผูกพัน - โอนให้โยธาดำเนินการ 5 รายการ |
140 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 06-06-2025 | โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ (เงินนอกงบประมาณฯ 171,530 บาท) | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | ศบส. และ กภก. มีการดำเนินกิจกรรมเสริมสร้างความรู้ (50%) ศบส. และ กภก. มีการดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ (40%) |
141 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 06-06-2025 | โครงการส่งเสริมการจัดการสารเคมีและวัตถุอันตรายในสถานประกอบการและภาวะฉุกเฉิน(กิจกรรมที่ 5 จัดทำแบบตรวจประเมินสถานประกอบการเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่สำนักงานเขต) | จำนวนชุดข้อมูลความเสี่ยงที่ได้รับการปรับปรุงให้เป็นปัจจุบัน | 0 | อยู่ระหว่างให้สำนักงานเขตร่วมกับสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยตรวจประเมินสถานีบริการน้ำมันและสถานีบริการก๊าซปิโตรเลียมเหลว โดยปัจจุบันตรวจประเมินสถานีบริการน้ำมันเสร็จสิ้นแล้ว จำนวน 277 แห่ง และตรวจประเมินสถานีบริการก๊าซปิโตรเลียมเหลวเสร็จสิ้นแล้ว จำนวน 88 แห่ง (รวมจำนวน 365 แห่ง จาก 1000 แห่ง) |
142 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | โครงการบริการเชิงรุกสุขภาพดีในพื้นที่เป้าหมาย (งบเงินอุดหนุน 168,800 บาท) | ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10-10 (4) | 0 | (จำนวนเรื่องร้องเรียนจากผู้รับบริการในสถานพยาบาล และกลุ่มเปราะบางในพื้นที่กรุงเทพมหานครด้านกฎหมายและนโยบาย (0) x 100)/ จำนวนเรื่องร้องเรียนทั้งหมดจากผู้รับบริการในสถานพยาบาล และกลุ่มเปราะบางในพื้นที่กรุงเทพมหานคร (2) = (0x100)/2 = 0) (ข้อมูล ณ วันที่ 4 มิถุนายน 2568) แหล่งข้อมูล: ระบบรับเรื่องร้องเรียนและคุ้มครองการละเมิดสิทธิด้านเอดส์ เพศภาวะ และความเป็นกลุ่มประชากรเปราะบางต่อการถูกเลือกปฏิบัติ (CRS) |
143 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรผู้รับผิดชอบงานอนามัยโรงเรียน (เงินนอกงบประมาณฯ 308,200 บาท) | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | สรุปผลการจัดอบรมตามโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรผู้รับผิดชอบงานอนามัยโรงเรียน มีผู้เข้ารับการอบรมจากศูนย์บริการสาธารณสุขและศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา จำนวน 133 คน คิดเป็นร้อยละ 91.09 ของบุคลากรผู้รับผิดชอบงานอนามัยโรงเรียน โดยผู้เข้าร่วมการอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 90.77 |
144 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | โครงการการบริการป้องกันและดูแลรักษาโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ์ (งบเงินอุดหนุน 33,839,900 บาท) | ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10-10 (4) | 0 | (จำนวนเรื่องร้องเรียนจากผู้รับบริการในสถานพยาบาล และกลุ่มเปราะบางในพื้นที่กรุงเทพมหานครด้านกฎหมายและนโยบาย (0) x 100)/ จำนวนเรื่องร้องเรียนทั้งหมดจากผู้รับบริการในสถานพยาบาล และกลุ่มเปราะบางในพื้นที่กรุงเทพมหานคร (2) = (0x100)/2 = 0) (ข้อมูล ณ วันที่ 4 มิถุนายน 2568) แหล่งข้อมูล: ระบบรับเรื่องร้องเรียนและคุ้มครองการละเมิดสิทธิด้านเอดส์ เพศภาวะ และความเป็นกลุ่มประชากรเปราะบางต่อการถูกเลือกปฏิบัติ (CRS) |
145 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | โครงการการบริการป้องกันและดูแลรักษาโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ์ (งบเงินอุดหนุน 33,839,900 บาท) | ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10-10 (3) | 0 | ร้อยละของผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่รู้สถานะการติดเชื้อได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสและสามารถกดไวรัสได้ ร้อยละ 99.33 (เนื่องจากมีการปรับฐานข้อมูล ในส่วนของ 95 ที่ 3 ตามระบบ BSMS เป็น (จำนวนผู้ติดเชื้อที่กดปริมาณไวไรได้สำเร็จ (<1,000 copies/mL) ทั้งหมดในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน /จำนวนผู้ติดเชื้อที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสและเข้าเกณฑ์ตรวจปริมาณไวรัสทั้งหมดในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน x100) = 14,322/14,419x 100 = 99.33) (ข้อมูล ณ วันที่ 4 มิถุนายน 2568) |
146 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | โครงการการบริการป้องกันและดูแลรักษาโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ์ (งบเงินอุดหนุน 33,839,900 บาท) | ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10 10 (2) | 0 | จํานวนผู้ติดเชื้อเอชไอวี ที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสเอชไอวีทั้งหมด ในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน = 16,422 คน หารด้วยผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ยังมีชีวิตอยู่ รู้สถานะการติดเชื้อของตนเองทั้งหมดใน สถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน = 17,322 คน *100 คิดเป็นร้อยละ 94.80 |
147 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | กิจกรรมพัฒนาคลินิกสุขภาพเพศหลากหลาย | สัดส่วนของผู้ป่วยที่ปรึกษาแพทย์ผ่านระบบ telemedicine และ/หรือรับยาจากที่บ้านเทียบกับจำนวนผู้รับบริการทั้งหมด | 0 | ข้อมูลเดือนพฤษภาคม 2568 จำนวนครั้งของผู้ป่วยคลินิกเพศหลากหลายที่มีการรับบริการผ่านระบบ Telemedicine และ/หรือรับยาจากที่บ้าน = 342 ครั้ง หารด้วยจำนวนครั้งของผู้ป่วยที่มีการรับบริการในคลินิกเพศหลากหลายในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ยกเว้นโรงพยาบาลวชิรพยาบาล ในปีงบประมาณ 2568 = 2,055 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 16.64 ข้อมูลเฉลี่ยสะสม 8 เดือน (ต.ค.2567 - พ.ค.2568) จำนวนครั้งของผู้ป่วยคลินิกเพศหลากหลายที่มีการรับบริการผ่านระบบ Telemedicine และ/หรือรับยาจากที่บ้าน = 1,804 ครั้ง หารด้วยจำนวนครั้งของผู้ป่วยที่มีการรับบริการในคลินิกเพศหลากหลายในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ยกเว้นโรงพยาบาลวชิรพยาบาล ในปีงบประมาณ 2568 = 10,995 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 16.41 |
148 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | กิจกรรมพัฒนาคลินิกสุขภาพเพศหลากหลาย | ร้อยละของคนเสี่ยงสูงที่เข้ามารับบริการคลินิกสุขภาพเพศหลากหลายต้องได้รับการตรวจคัดกรอง HIV | 0 | ข้อมูลเดือนพฤษภาคม 2568 ผู้รับบริการที่มารับบริการในคลินิกสุขภาพเพศหลากหลายในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ยกเว้นโรงพยาบาลวชิรพยาบาล ที่ได้รับการตรวจคัดกรอง HIV = 1,974 คน หารด้วยผู้มารับบริการที่มารับบริการในคลินิกสุขภาพเพศหลากหลายในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ยกเว้นโรงพยาบาลวชิรพยาบาล = 2,055 คน ทั้งหมด คูณด้วย 100 คิดเป็นร้อยละ 96.06 ข้อมูลเฉลี่ยสะสม 8 เดือน(ต.ค.2567 - พ.ค.2568) ผู้รับบริการที่มารับบริการในคลินิกสุขภาพเพศหลากหลายในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ยกเว้นโรงพยาบาลวชิรพยาบาล ที่ได้รับการตรวจคัดกรอง HIV = 10,610 คน หารด้วยผู้มารับบริการที่มารับบริการในคลินิกสุขภาพเพศหลากหลายในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ยกเว้นโรงพยาบาลวชิรพยาบาล = 10,995 คน ทั้งหมด คูณด้วย 100 คิดเป็นร้อยละ 96.50 |
149 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | โครงการคลินิกให้คำปรึกษา (งบเงินอุดหนุน 3,856,500 บาท) | ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10-10 (6) | 0 | ผู้หญิงอยู่ร่วมกับเอชไอวี อายุ 15 – 49 มีประสบการณ์ถูกใช้ความรุนแรงในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา มีจำนวน 3 คน จากการสำรวจ จำนวน 164 คน = ข้อมูลได้มาจากผลการคำนวณในระบบรายงานการสํารวจ Stigma Index = 1.80 แหล่งข้อมูล : การสํารวจ Stigma Index โดยคณะกรรมการร่วมผู้อยู่ร่วมกับเอชไอวี (The PLHIV Stigma Index Task Force) ข้อมูล ณ วันที่ 4 มิถุนายน 2568 |
150 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | โครงการคลินิกให้คำปรึกษา (งบเงินอุดหนุน 3,856,500 บาท) | ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10-10 (5) | 0 | ผู้ติดเชื้อ HIV ที่รายงานว่าเคยถูกตีตราและเลือกปฏิบัติเนื่องจาก HIV ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา ซึ่งเป็นข้อมูลการสำรวจ (ปีเว้นปี) โดยกระทรวงสาธารณสุข และในปี 2568 รอดำเนินการสำรวจในช่วงเดือนพฤษภาคม - กรกฎาคม จึงรายงานเป็น 0 |
151 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | โครงการคลินิกให้คำปรึกษา (งบเงินอุดหนุน 3,856,500 บาท) | ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10-10 (3) | 0 | ร้อยละของผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่รู้สถานะการติดเชื้อได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสและสามารถกดไวรัสได้ ร้อยละ 99.33 (เนื่องจากมีการปรับฐานข้อมูล ในส่วนของ 95 ที่ 3 ตามระบบ BSMS เป็น (จำนวนผู้ติดเชื้อที่กดปริมาณไวไรได้สำเร็จ (<1,000 copies/mL) ทั้งหมดในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน /จำนวนผู้ติดเชื้อที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสและเข้าเกณฑ์ตรวจปริมาณไวรัสทั้งหมดในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน x100) = 14,322/14,419x 100 = 99.33) (ข้อมูล ณ วันที่ 4 มิถุนายน 2568) |
152 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | โครงการคลินิกให้คำปรึกษา (งบเงินอุดหนุน 3,856,500 บาท) | ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10 10 (1) | 0 | จํานวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ยังมีชีวิตอยู่รู้สถานะการติดเชื้อของตนเองทั้งหมดในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน = 89,779 คน หารด้วยจํานวนคาดประมาณผู้ติดเชื้อเอชไอวีทั้งหมดในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน = 89,207 คน * 100 คิดเป็นร้อยละ 100.64 |
153 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | กิจกรรมค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ใน 7 กลุ่มเสี่ยงวัณโรค รวมทั้งในสถานประกอบการและในชุมชนที่เข้าถึงยากและกลุ่มคนไร้บ้าน | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | - ค้นหาวัณโรครายใหม่ใน 7 กลุ่มเสี่ยงวัณโรครวมทั้งในสถานประกอบการ และในชุมชนที่เข้าถึงยาก และกลุ่มคนไร้บ้าน - เก็บรวบรวมผลการปฏิบัติงาน ทุกเดือน รวบรวม - ประเมินผลการดำเนินงาน ประจำเดือนพฤษภาคม 2568 |
154 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | กิจกรรมการค้นหาและรักษาผู้ติดเชื้อวัณโรคระยะแฝงของศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | ค้นหาวัณโรคระยะแฝงจำนวนทั้งหมด 10 ราย ติดเชื้อวัณโรคระยะแฝง IGRA 3 ราย TST 0 ราย ขึ้นทะเบียนรักษาผู้ติดเชื้อวัณโรคระยะแฝง 3 ราย |
155 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | โครงการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดในพื้นที่กรุงเทพมหานคร (งบเงินอุดหนุน 1,952,500 บาท) | ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดเข้าสู่ระบวนการบำบัดรักษา ได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพต่อเนื่องจนถึงการติดตาม (Retention Rate) | 0 | Retention Rate ปี 2568 ทุกระบบยกเว้นต้องโทษ จำนวนผู้เข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษาที่พ้นระยะการบำบัดรักษาและได้รับการจําหน่ายทั้งหมด จำนวน 3,755 ราย จำนวนผู้ที่ได้รับการติดตามดูแลช่วยเหลืออย่างต่อเนื่องหลังการบำบัดรักษา จำนวน 2,156 ราย คิดเป็นร้อยละ 57.42 (ข้อมูลประจำเดือนพฤษภาคม 2568) |
156 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | กิจกรรมผู้สูงวัยรอบรู้ด้านสุขภาพ | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | อยู่ระหว่างการดำเนินการจัดทำสื่อส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพสนับสนุนให้แก่ผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม และศูนย์บริการสาธารณสุข ได้ดำเนินงานสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพแก่ผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมาย |
157 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | โครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตและเผยแพร่ภูมิปัญญาผู้สูงอายุ (เงินนอกงบประมาณฯ 498,000 บาท) | จำนวนสมาชิกในชมรมผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น (เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 จากปีที่ผ่านมา) | 0 | ศูนย์บริการสาธารณสุขดำเนินการคัดกรองสุขภาพหรือตรวจสุขภาพประจำปีให้แก่สมาชิกชมรมผู้สูงอายุ โดยมีจำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการตรวจสุขภาพ ตั้งแต่วันที่ 7 พ.ค. - 5 มิ.ย. 2568 จำนวน 2,074 คน รวมผู้สูงอายุที่ได้รับการตรวจสุขภาพทั้งหมด ตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค. 67 - 5 มิ.ย. 2568 จำนวน 33,986 คน ข้อมูลจาก https://health2.bangkok.go.th/ |
158 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | กิจกรรมให้การสนับสนุนวิทยากรฝึกอบรมการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (CPR) และการใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าอัตโนมัติ (AED) ในโรงเรียน | ร้อยละของนักเรียนกลุ่มเป้าหมายในโรงเรียนนอกสังกัดกรุงเทพมหานครได้รับการฝึกทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นในการฟื้นคืนสัญญาณชีพ (CPR) | 100 | อยู่ระหว่างรวบรวมผลการดำเนินงานจากศูนย์บริการสาธารณสุข |
159 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | โครงการคุมได้ไร้แทรกซ้อน | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | ศูนย์บริการสาธารณสุขดำเนินการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนในคลินิกและแนวทางการประเมิน CVD Risk พร้อมทั้งจัดกระบวนการในการลด CVD Risk ของผู้ป่วยที่มี CVD Risk สูง |
160 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | โครงการคุมได้ไร้แทรกซ้อน | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | ศูนย์บริการสาธารณสุขดำเนินการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนในคลินิกและแนวทางการประเมิน CVD Risk พร้อมทั้งจัดกระบวนการในการลด CVD Risk ของผู้ป่วยที่มี CVD Risk สูง |
161 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | โครงการชมรมผู้สูงอายุ Active Aging | จำนวนชมรมผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น (เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 จากปีที่ผ่านมา) | 0 | อยู่ระหว่างรวบรวมผลการดำเนินงานชมรมผู้สูงอายุของศูนย์บริการสาธารณสุข 1-69 |
162 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | โครงการบริการเชิงรุกสุขภาพดีในพื้นที่เป้าหมาย (งบเงินอุดหนุน 168,800 บาท) | ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10-10 (3) | 99.33 | ร้อยละของผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่รู้สถานะการติดเชื้อได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสและสามารถกดไวรัสได้ ร้อยละ 99.33 (เนื่องจากมีการปรับฐานข้อมูล ในส่วนของ 95 ที่ 3 ตามระบบ BSMS เป็น (จำนวนผู้ติดเชื้อที่กดปริมาณไวไรได้สำเร็จ (<1,000 copies/mL) ทั้งหมดในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน /จำนวนผู้ติดเชื้อที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสและเข้าเกณฑ์ตรวจปริมาณไวรัสทั้งหมดในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน x100) = 14,322/14,419x 100 = 99.33) (ข้อมูล ณ วันที่ 4 มิถุนายน 2568) |
163 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | โครงการสนับสนุนธำรงรักษามาตรฐานงานเทคนิคการแพทย์ของห้องปฏิบัติการชันสูตรโรค ศูนย์บริการสาธารณสุข | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | ผลการดำเนินงาน - ได้จัดทำโครงการ และขออนุมัติดำเนินโครงการฯ แล้ว คิดเป็นความก้าวหน้าโครงการร้อยละ 10 - ได้แต่งตั้งคณะทำงานตรวจติดตามคุณภาพภายในแล้ว ตามคำสั่งสำนักงานชันสูตรสาธารณสุขที่ 68/2567 ลงวันที่ 14 พฤศจิกายน 2567 คิดเป็นความก้าวหน้าโครงการร้อยละ 20 - ได้จัดประชุมเพื่อวางแผนการดำเนินการตรวจติดตามคุณภาพภายใน (Internal accreditation) ห้องปฏิบัติการศูนย์บริการสาธารณสุข 15 และ 29 คิดเป็นความก้าวหน้าโครงการร้อยละ 30 - ได้ดำเนินการตรวจติดตามคุณภาพภายในห้องปฏิบัติการเครือข่าย ศบส.15 และ ศบส.29ไปแล้วเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2568 และวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2568 ตามลำดับ - คณะทำงานสนับสนุนการดำเนินการโครงการพัฒนาห้องปฏิบัติการศูนย์บริการสาธารณสุข ได้ส่งรายงานการตรวจติดตามให้กับ ศบส.15 และ 29 ขณะนี้อยู่ระหว่างการแก้ไขเอกสารคุณภาพ ตามคำแนะนำของคณะทำงานฯ |
164 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | กิจกรรมส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพในการดูแลสุขภาพช่องปากเพื่อป้องกันการเกิดโรคในช่องปาก | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | อยู่ระหว่างดำเนินการตรวจสุขภาพช่องปาก และเก็บข้อมูลสภาวะช่องปากเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ก่อนเริ่มกิจกรรม |
165 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | กิจกรรมขับเคลื่อนการดำเนินงาน กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | สถานประกอบการอาหารที่ได้การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2567 – 5 มิถุนายน 2568 รายละเอียด ดังนี้ 1) สถานประกอบการอาหารที่ได้รับใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้ง ทั้งหมด 24,057 ราย 2) สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดี/เกรด C ตามกฎหมาย (ระดับ 3 ดาว) จำนวน 9,851 ราย คิดเป็นร้อยละ 40.95 3) สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด B (ระดับ 4 ดาว/Green Service) จำนวน 5,310 ราย คิดเป็นร้อยละ 22.07 4) สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีเลิศ/เกรด A (ระดับ 5 ดาว/Green Service Plus) จำนวน 2,889 ราย คิดเป็นร้อยละ 12.01 (ข้อมูลจากระบบสารสนเทศงานสุขาภิบาลอาหาร ณ วันที่ 5 มิถุนายน 2568) |
166 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | กิจกรรมการดำเนินการตามนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร นโยบาย ที่ 171 มุ่งเป้าติดตั้งระบบบำบัดน้ำเสียต้นทาง | จำนวนตลาดที่ขอรับบริการบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร | 0 | ตลาดที่ขอรับบริการบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร จำนวน 3 แห่ง ได้แก่ 1. ตลาดนครเพชรเกษม เขตหนองแขม 2. ตลาดมณีพิมาณ เขตบางซื่อ 3. ตลาดศูนย์การค้าบางแค เขตบางแค |
167 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | โครงการพัฒนาตลาด Premium Market ของกรุงเทพมหานคร (เงินนอกงบประมาณฯ 338,925 บาท) | จำนวนตลาดที่ขอรับบริการบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร | 0 | ตลาดที่ขอรับบริการบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร จำนวน 3 แห่ง ได้แก่ 1. ตลาดนครเพชรเกษม เขตหนองแขม 2. ตลาดมณีพิมาณ เขตบางซื่อ 3. ตลาดศูนย์การค้าบางแค เขตบางแค |
168 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | โครงการพัฒนาตลาด Premium Market ของกรุงเทพมหานคร (เงินนอกงบประมาณฯ 338,925 บาท) | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | สถานประกอบการอาหารที่ได้การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2567 – 5 มิถุนายน 2568 รายละเอียด ดังนี้ 1) สถานประกอบการอาหารที่ได้รับใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้ง ทั้งหมด 24,057 ราย 2) สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดี/เกรด C ตามกฎหมาย (ระดับ 3 ดาว) จำนวน 9,851 ราย คิดเป็นร้อยละ 40.95 3) สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด B (ระดับ 4 ดาว/Green Service) จำนวน 5,310 ราย คิดเป็นร้อยละ 22.07 4) สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีเลิศ/เกรด A (ระดับ 5 ดาว/Green Service Plus) จำนวน 2,889 ราย คิดเป็นร้อยละ 12.01 (ข้อมูลจากระบบสารสนเทศงานสุขาภิบาลอาหาร ณ วันที่ 5 มิถุนายน 2568) |
169 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | กิจกรรมให้การสนับสนุนวิทยากรฝึกอบรมการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (CPR) และการใช้เครื่องกระตุกหัวใจไฟฟ้าอัตโนมัติ (AED) ในโรงเรียน | ร้อยละของนักเรียนกลุ่มเป้าหมายในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครได้รับการฝึกทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นในการฟื้นคืนสัญญาณชีพ (CPR) | 100 | สำนักอนามัยรับผิดชอบโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครที่มีนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา จำนวน 54 แห่ง จาก 109 แห่ง โดยจัดอบรมให้นักเรียนโรงเรียนครบทั้ง 54 แห่ง และมีนักเรียนผ่านการอบรม 17,028 คน จากจำนวนนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา 17,028 คน (กลุ่มเป้าหมายจริง ณ วันที่จัดอบรมฯ) คิดเป็นร้อยละ 100 |
170 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | โครงการคุมได้ไร้แทรกซ้อน | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | ศูนย์บริการสาธารณสุขดำเนินการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนในคลินิกและแนวทางการประเมิน CVD Risk พร้อมทั้งจัดกระบวนการในการลด CVD Risk ของผู้ป่วยที่มี CVD Risk สูง |
171 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ใส่ใจสุขภาพ | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | ดำเนินกิจกรรมที่ 1 เสร็จสิ้นแล้วและอยู่ระหว่างการดำเนินการกิจกรรมที่ 2 |
172 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | โครงการส่งเสริมความรู้และป้องกันวัณโรคเชิงรุกในปีงบประมาณ 2568 | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | อยู่ระหว่างดำเนินการ |
173 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายการควบคุมวัณโรคในกรุงเทพมหานคร ตามแผนงานวัณโรคแห่งชาติ (เงินนอกงบประมาณฯ 505,000 บาท) | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | อยู่ระหว่างดำเนินการ กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาประสิทธิภาพงานควบคุมป้องกันวัณโรคสถานพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร (DOT MEETING) |
174 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | โครงการชุมชนเข้มแข็งอย่างยั่งยืนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร (งบเงินอุดหนุน 10,000,000 บาท) | 27. ร้อยละของชุมชนจดจัดตั้งที่มีความเสี่ยง และเฝ้าระวังปัญหาด้านยาเสพติด | 0 | ความคืบหน้าการดำเนินงานชุมชนจดจัดตั้งที่มีความเสี่ยง และเฝ้าระวังปัญหาด้านยาเสพติด จำนวน 2,003 ชุมชน โดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได่แก่ 1) ชุมชนเฝ้าระวัง 201 ชุมชม ในพื้นที่ 43 เขต ยกเว้นคลองเตย จตุจัก ดุสิต พระนคร วัฒนา สัมพันธวงศ์ และสายไหม ดำเนินการแล้ว รวม 200 ชุมชน ในพื้นที่ครบ 43 เขต (ร้อยละ 99.50) 2) ชุมชนรักษาสภาพ (เป้าหมาย 347 ชุมชน ในพื้นที่ 48 เขต ยกเว้นเขตบางนา และ พญาไท) ดำเนินการแล้ว รวม 346 ชุมชน ในพื้นที่ 47 เขต (ร้อยละ 99.71) และ 3) ชุมชนทั่วไป 1,455 ชุมชน |
175 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | กิจกรรมตรวจสอบสภาพยานพาหนะ และอุปกรณ์ เพื่อสนับสนุนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย | หน่วยงานที่มีการตรวจสอบสภาพยานพาหนะ และรายงานสถานะรายเดือน ผ่านระบบระบบฐานข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) และระบบสารสนเทศการบริหาร (MIS) เพื่อการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย | 0 | สำนักอนามัย ตรวจสอบ กำกับ ติดตามการรายงานผลข้อมูลการตรวจสอบสภาพของยานพาหนะและอุปกรณ์สนับสนุนงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยที่อยู่ในความรับผิดชอบของแต่ละส่วนราชการ และนำเข้าข้อมูลในระบบฐานข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) และระบบสารสนเทศการบริหาร (MIS) เพื่อการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ประจำเดือน พฤษภาคม 2568 โดยแยกเป็น สถานะพร้อมใช้งาน จำนวน 427 คัน สถานะชำรุด จำนวน 8 คัน สถานะส่งซ่อม จำนวน 4 คัน สถานะรอจำหน่าย จำนวน 24 คัน และสถานะจำหน่าย จำนวน 6 คัน รวมจำนวนรถทั้งสิ้น 469 คัน |
176 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | โครงการจัดบริการฟื้นฟูสุขภาพ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหว | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | กิจกรรมที่ 1 กองทะเบียนทรัพย์สิน สำนักการคลัง อยู่ระหว่างตรวจเอกสารการขออนุมัติโอนกรรมสิทธิ์ โดยสำนักอนามัยส่งรายชื่อ จำนวน 700 คน กิจกรรมที่ 2 สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข สำนักอนามัยอยู่ระหว่างรวบรวมรายชื่อ 552 คน เพื่อขออนุมัติโอนกรรมสิทธิ์สังหาริมทรัพย์ที่ไม่มีลักษณะเป็นการจำหน่าย กิจกรรมที่ 3 นักสังคมสงเคราะห์ร่วมกับนักกายภาพบำบัดประเมินความพิการและความสามารถในการใช้ชีวิตประจำวัน (ADL) และประเมินคูุณภาพชีวิตก่อนได้รับอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหว 4 รายการ ได้แก่ รถเข็น ไม้เท้าขาเเดียว ไม้เท้าสามขา และอุปกรณ์ช่วยเดิน Walker |
177 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | กิจกรรมการส่งต่อผู้เข้าบำบัดรักษาไปยังศูนย์ฟื้นฟูสภาพทางสังคม | ร้อยละของผู้ที่ได้รับการฟื้นฟูสภาพทางสังคม | 0 | กิจกรรมการส่งต่อผู้เข้าบำบัดรักษาไปยังศูนย์ฟื้นฟูสภาพทางสังคม ผลการดำเนินงานในเดือนพฤษภาคม 2568 จำนวนผู้ขอรับการช่วยเหลือ จำนวน 278 ราย ให้ความช่วยเหลือได้ 185 ราย อยู่ระหว่างให้การช่วยเหลือ จำนวน 66 คน และไม่สามารถติดต่อได้ จำนวน 20 ราย คิดเป็นร้อยละ 66.55 |
178 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | โครงการคลินิกให้คำปรึกษา (งบเงินอุดหนุน 3,856,500 บาท) | ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10 10 (2) | 0 | จํานวนผู้ติดเชื้อเอชไอวี ที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสเอชไอวีทั้งหมด ในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน = 16,422 คน หารด้วยผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ยังมีชีวิตอยู่ รู้สถานะการติดเชื้อของตนเองทั้งหมดใน สถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน = 17,322 คน *100 คิดเป็นร้อยละ 94.80 |
179 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | โครงการการบริหารจัดการระบบลูกโซ่ความเย็นและมาตรฐานงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (เงินนอกงบประมาณฯ 40,800 บาท) | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | อยู่ในระหว่างดำเนินการประเมินผลการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของศูนย์บริการสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งการตรวจสอบอุณหภูมิในกระติกวัคซีนที่ศูนย์บริการสาธารณสุขทุกแห่งเตรียมเข้ามารับวัคซีนที่ห้องวัคซีนของสำนักงานโรคติดต่อทางสาธารณสุข สำนักอนามัย เพื่อให้การประเมินผลการดำเนินงานฯของกลุ่มเป้าหมายเป็นไปด้วยความเรียบร้อยตามแผนงานที่กำหนด |
180 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | โครงการกรุงเทพมหานครเขตปลอดบุหรี่ (เงินนอกงบประมาณฯ 1,015,500 บาท) | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 36 | วันที่ 28 พฤษภาคม 2568 สำนักงานป้องกันและบำบัดการติดยาเสพติด จัดมหกรรมรณรงค์ป้องกันการสูบบุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้า เนื่องในวันงดสูบบุหรี่โลก ณ ห้องบางกอก ชั้น B2 อาคารไอราวัตพัฒนา ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมี นายแพทย์สุนทร สุนทรชาติ รองปลัดกรุงเทพมหานคร เป็นประธานในพิธี โดยจัดกิจกรรมร่วมกับภาคีเครือข่าย เพื่อสร้างการรับรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในกลุ่มเด็กและเยาวชน ผู้เข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ประกอบด้วย - ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร ผู้บริหารสำนักอนามัย ผู้แทนสำนักงานเขต ผู้บริหารศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ (ศจย.) หน่วยวิชาการเครือข่ายนักสาธารณสุขจัดการปัจจัยเสี่ยงสุขภาพ (สปสส.) ผู้แทนจากหน่วยงานต่าง ๆ อาทิ สมาพันธ์เครือข่ายแห่งชาติเพื่อสังคมไทยปลอดบุหรี่ มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ ศูนย์บริการเลิกบุหรี่ทางโทรศัพท์แห่งชาติ (สายด่วนเลิกบุหรี่ 1600) เครือข่ายวิชาชีพทันตบุคลากรต้านภัยยาสูบ ผู้บริหารสถานศึกษาและนักเรียน Gen Z จากสถานศึกษาในพื้นที่กรุงเทพฯ รวมจำนวนทั้งสิ้น 650 คน รวมจำนวนเครือข่าย 36 เครือข่าย |
181 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรสายงานเภสัชกรรม | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | อยู่ระหว่างดำเนินการเบิกค่าใช้จ่ายในการดำเนินการจัดประชุม (80%) |
182 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | กิจกรรมการขับเคลื่อนการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนกรุงเทพมหานคร | 27. ร้อยละของชุมชนจดจัดตั้งที่มีความเสี่ยง และเฝ้าระวังปัญหาด้านยาเสพติด | 0 | ความคืบหน้าการดำเนินงานชุมชนจดจัดตั้งที่มีความเสี่ยง และเฝ้าระวังปัญหาด้านยาเสพติด จำนวน 2,003 ชุมชน โดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได่แก่ 1) ชุมชนเฝ้าระวัง 201 ชุมชม ในพื้นที่ 43 เขต ยกเว้นคลองเตย จตุจัก ดุสิต พระนคร วัฒนา สัมพันธวงศ์ และสายไหม ดำเนินการแล้ว รวม 200 ชุมชน ในพื้นที่ครบ 43 เขต (ร้อยละ 99.50) 2) ชุมชนรักษาสภาพ (เป้าหมาย 347 ชุมชน ในพื้นที่ 48 เขต ยกเว้นเขตบางนา และ พญาไท) ดำเนินการแล้ว รวม 346 ชุมชน ในพื้นที่ 47 เขต (ร้อยละ 99.71) และ 3) ชุมชนทั่วไป 1,455 ชุมชน |
183 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | กิจกรรมการดำเนินงานส่งเสริมทักษะสมอง EF (Executive Functions) | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | ตรวจสอบรายงานผลการปฏิบัติงานประจำเดือนของศูนย์บริการสาธารณสุข และสถานรับเลี้ยงเด็กกลางวัน |
184 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | โครงการพัฒนาตลาด Premium Market ของกรุงเทพมหานคร (เงินนอกงบประมาณฯ 338,925 บาท) | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | ผลตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร 8 ชนิด ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (ข้อมูล ณ วันที่ 1 ต.ค. 67 - 30 เม.ย. 68) มีการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 45,281 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์ฯ/ไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 45,248 ตัวอย่าง (ร้อยละ 99.93) ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 33 ตัวอย่าง (ร้อยละ 0.07) ทั้งนี้ ตัวอย่างที่ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อน ได้รับการแก้ไขพร้อมทั้งดำเนินการเก็บตัวอย่างตรวจซ้ำและไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 33 ตัวอย่าง ดังนั้น ผลการดำเนินการร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ คิดเป็นร้อยละ 100 |
185 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | โครงการการบริการป้องกันและดูแลรักษาโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ์ (งบเงินอุดหนุน 33,839,900 บาท) | ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10-10 (6) | 0 | ผู้หญิงอยู่ร่วมกับเอชไอวี อายุ 15 – 49 มีประสบการณ์ถูกใช้ความรุนแรงในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา มีจำนวน 3 คน จากการสำรวจ จำนวน 164 คน = ข้อมูลได้มาจากผลการคำนวณในระบบรายงานการสํารวจ Stigma Index = 1.80 แหล่งข้อมูล : การสํารวจ Stigma Index โดยคณะกรรมการร่วมผู้อยู่ร่วมกับเอชไอวี (The PLHIV Stigma Index Task Force) ข้อมูล ณ วันที่ 4 มิถุนายน 2568 |
186 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | โครงการบริการเชิงรุกสุขภาพดีในพื้นที่เป้าหมาย (งบเงินอุดหนุน 168,800 บาท) | ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10-10 (6) | 1.8 | ผู้หญิงอยู่ร่วมกับเอชไอวี อายุ 15 – 49 มีประสบการณ์ถูกใช้ความรุนแรงในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา มีจำนวน 3 คน จากการสำรวจ จำนวน 164 คน = ข้อมูลได้มาจากผลการคำนวณในระบบรายงานการสํารวจ Stigma Index = 1.80 แหล่งข้อมูล : การสํารวจ Stigma Index โดยคณะกรรมการร่วมผู้อยู่ร่วมกับเอชไอวี (The PLHIV Stigma Index Task Force) ข้อมูล ณ วันที่ 4 มิถุนายน 2568 |
187 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | โครงการบริการเชิงรุกสุขภาพดีในพื้นที่เป้าหมาย (งบเงินอุดหนุน 168,800 บาท) | ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10 10 (2) | 94.8 | จํานวนผู้ติดเชื้อเอชไอวี ที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสเอชไอวีทั้งหมด ในสถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน = 16,422 คน หารด้วยผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ยังมีชีวิตอยู่ รู้สถานะการติดเชื้อของตนเองทั้งหมดใน สถานพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน = 17,322 คน *100 คิดเป็นร้อยละ 94.80 |
188 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | กิจกรรมพัฒนาคลินิกสุขภาพเพศหลากหลาย | จำนวนประชาชนที่เข้ารับบริการกับคลินิกสุขภาพเพศหลากหลายเพิ่มขึ้น (สนพ. 2,300 คน, สนอ. 8,400 คน) | 2055 | จำนวนผู้รับบริการประจำ เดือนพฤษภาคม 2568 จำนวน 2,055 คน |
189 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | กิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาและสารเสพติดในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 90.83 | ดำเนินการติดตามนักเรียนที่ทำแบบประเมินภูมิคุ้มกันยาและสารเสพติด และมีผลการทำแบบประเมินฯ อยู่ในระดับเสี่ยง จำนวน 382 คน และจัดกิจกรรมเสริมสร้างภูมิคุ้มกันยาและสารเสพติด จำนวน 347 คน คิดเป็นร้อยละ 90.83 และอยู่ระหว่างการติดตามเยี่ยมบ้านจำนวน 35 คน |
190 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | โครงการพัฒนาตลาด Premium Market ของกรุงเทพมหานคร (เงินนอกงบประมาณฯ 338,925 บาท) | จำนวนตลาดที่มีการบำบัดน้ำเสียเป็นไปตามมาตรฐานน้ำทิ้งที่กฎหมายกำหนด | 0 | ตลาดที่มีการบำบัดน้ำเสียเป็นไปตามมาตรฐานน้ำทิ้งที่กฎหมายกำหนด จำนวน 10 แห่ง จากเป้าหมายจำนวนทั้งสิ้น 26 แห่ง ได้แก่ 1. ตลาดอ่อนนุชเพชรมาร์ท เขตวัฒนา 2. ตลาดหทัยมิตร เขตคลองสามวา 3. ตลาดสดนครไทย เขตบางกะปิ 4. ตลาดนครเพชรเกษม เขตหนองแขม 5.ตลาดอุดมผล เขตลาดกระบัง 6. ตลาด AEC รามคำแหง เขตมีนบุรี 7. ตลาดเมืองทอง 1 เขตหลักสี่ 8.ตลาดสดเคะทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ 9. ตลาดมณีพิมาน เขตบางแค 10. ตลาดศูนย์การค้าบางแค เขตบางแค (ข้อมูล ณ วันที่ 27 พฤษภาคม 2568) |
191 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | กิจกรรมขับเคลื่อนการดำเนินงาน กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย | จำนวนตลาดที่ขอรับบริการบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร | 0 | ตลาดที่ขอรับบริการบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานคร จำนวน 3 แห่ง ได้แก่ 1. ตลาดนครเพชรเกษม เขตหนองแขม 2. ตลาดมณีพิมาณ เขตบางซื่อ 3. ตลาดศูนย์การค้าบางแค เขตบางแค |
192 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | กิจกรรมขับเคลื่อนการดำเนินงาน กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย | จำนวนตลาดที่มีการบำบัดน้ำเสียเป็นไปตามมาตรฐานน้ำทิ้งที่กฎหมายกำหนด | 0 | ตลาดที่มีการบำบัดน้ำเสียเป็นไปตามมาตรฐานน้ำทิ้งที่กฎหมายกำหนด จำนวน 10 แห่ง จากเป้าหมายจำนวนทั้งสิ้น 26 แห่ง ได้แก่ 1. ตลาดอ่อนนุชเพชรมาร์ท เขตวัฒนา 2. ตลาดหทัยมิตร เขตคลองสามวา 3. ตลาดสดนครไทย เขตบางกะปิ 4. ตลาดนครเพชรเกษม เขตหนองแขม 5.ตลาดอุดมผล เขตลาดกระบัง 6. ตลาด AEC รามคำแหง เขตมีนบุรี 7. ตลาดเมืองทอง 1 เขตหลักสี่ 8.ตลาดสดเคะทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ 9. ตลาดมณีพิมาน เขตบางแค 10. ตลาดศูนย์การค้าบางแค เขตบางแค (ข้อมูล ณ วันที่ 27 พฤษภาคม 2568) |
193 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | โครงการสื่อสารสร้างเมืองสุขภาพดี (เงินนอกงบประมาณฯ 2,670,050 บาท) | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | อยู่ระหว่างดำเนินการในขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้างตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 |
194 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | กิจกรรมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | อยู่ระหว่างจัดทำและพัฒนาสื่อส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพ ( 3อ 2ส 1ฟ) เพื่อสนับสนุนกิจกรรม และศูนย์บริการสาธารณสุข ดำเนินงานสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพแก่กลุ่มเป้าหมาย |
195 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | กิจกรรมสาระสุขภาพทางสื่อสาธารณะ | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | อยู่ระหว่างรวบรวม ตรวจสอบเนื้อหาจัดทำสื่อฯ ภาพและข่าวสุขภาพ และเผยแพร่ทางสื่อออนไลน์ ในช่วงเดือนเมษายน - มิถุนายน 2568 และจัดทำแผนการเผยแพร่สื่อฯ ในช่วงเดือนกรกฎาคม - กันยายน 2568 |
196 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | กิจกรรมส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพผ่านตู้ประชาสัมพันธ์ตั้งพื้นแบบไม่สัมผัส | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | อยู่ระหว่างดำเนินการผลิตสื่อตามแผนที่กำหนด และเผยแพร่สื่อผ่านตู้ประชาสัมพันธ์ฯ |
197 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | โครงการเสริมสร้างศักยภาพการชันสูตรโรคของศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | (1) ดำเนินการตามกิจกรรมที่ 1 จัดการทดสอบความรู้เจ้าหน้าที่ห้องชันสูตรโรค ศูนย์บริการสาธารณสุข แล้วเสร็จ สรุปผลกิจกรรมที่ 1 ดังนี้ ผู้ปฏิบัติการตรวจวิเคราะห์ของศูนย์บริการสาธารณสุข ได้ทบทวนวิธีปฏิบัติการตรวจวิเคราะห์ด้วยตนเอง (E–learning) และทำแบบทดสอบความรู้ ผ่านเกณฑ์การประเมินทั้ง 69 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 (เกณฑ์การทดสอบความรู้ กำหนดให้บุคลากรของศูนย์บริการสาธารณสุขอย่างน้อย 1 คน ได้รับคะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ ๘๐) (2) ดำเนินการตามกิจกรรมที่ 2 2.1 ติดตามการควบคุมคุณภาพน้ำยาของศูนย์บริการสาธารณสุข โดยมีจำนวนของศูนย์บริการสาธารณสุขที่ได้รับการควบคุมคุณภาพน้ำยาตรวจวิเคราะห์ จากการเก็บรักษาน้ำยาที่อุณหภูมิเหมาะสม และไม่ใช้น้ำยาที่หมดอายุ ในแต่ละเดือน (ช่วงต.ค.67 - เม.ย.68) คิดเป็นค่าเฉลี่ย ร้อยละ95.9 จากศูนย์บริการสาธารณสุขทั้งหมด 69 แห่ง 2.2 สอบเทียบเครื่องมือทางห้องปฏิบัติการ ได้ดำเนินการประกาศผู้ชนะจากการจัดหาบริษัทสอบเทียบเครื่องมือ ในขณะนี้อยู่ระหว่างการตรวจร่างเพื่อลงนามสัญญา ก่อนจะเริ่มเข้าทำการสอบเทียบเครื่องมือต่อไป (3) ดำเนินการตามกิจกรรมที่ 3 การประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการครั้งที่ 1/2568 ได้ประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์แล้วเสร็จ ทั้ง 6 รายการ (Blood Glucose, Blood group, Hematocrit, Anti-HIV, TB และMethamphetamine) พบว่าร้อยละของค่าเฉลี่ยผลสำเร็จของการดำเนินงาน เท่ากับ ร้อยละ 100 การประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการครั้งที่ 2/2568 ประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการครั้งที่ 2 จำนวน 4 รายการทดสอบ (Blood Glucose, Blood group, Hematocrit และAnti-HIV) อยู่ระหว่างการรวบรวมการรายงานผลการตรวจวิเคราะห์จากศูนย์บริการสาธารณสุข (4) ดำเนินการตามกิจกรรมที่ 4 ศูนย์บริการสาธารณสุขประเมินตนเองตามคู่มือคุณภาพมาตรฐานบริการปฐมภูมิ ด้านระบบห้องปฏิบัติการด้านการแพทย์และสาธารณสุข ดำเนินการจัดการอบรมเกณฑ์คุณภาพและมาตรฐานในการให้บริการสุขภาพปฐมภูมิ ด้านระบบห้องปฏิบัติการด้านการแพทย์และสาธารณสุข แก่บุคลากรของศูนย์บริการสาธารณสุขในรูปแบบออนไลน์ (Zoom) ไปเมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2568 กำลังดำเนินการสรุปผลการอบรม และส่งใบประกาศให้กับศูนย์บริการสาธารณสุข |
198 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | กิจกรรมขับเคลื่อนการดำเนินงาน กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | ผลตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร 8 ชนิด ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (ข้อมูล ณ วันที่ 1 ต.ค. 67 - 30 เม.ย. 68) มีการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 45,281 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์ฯ/ไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 45,248 ตัวอย่าง (ร้อยละ 99.93) ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 33 ตัวอย่าง (ร้อยละ 0.07) ทั้งนี้ ตัวอย่างที่ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อน ได้รับการแก้ไขพร้อมทั้งดำเนินการเก็บตัวอย่างตรวจซ้ำและไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 33 ตัวอย่าง ดังนั้น ผลการดำเนินการร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ คิดเป็นร้อยละ 100 |
199 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | กิจกรรมการดำเนินการตามนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร นโยบาย ที่ 171 มุ่งเป้าติดตั้งระบบบำบัดน้ำเสียต้นทาง | จำนวนตลาดที่มีการบำบัดน้ำเสียเป็นไปตามมาตรฐานน้ำทิ้งที่กฎหมายกำหนด | 0 | ตลาดที่มีการบำบัดน้ำเสียเป็นไปตามมาตรฐานน้ำทิ้งที่กฎหมายกำหนด จำนวน 10 แห่ง จากเป้าหมายจำนวนทั้งสิ้น 26 แห่ง ได้แก่ 1. ตลาดอ่อนนุชเพชรมาร์ท เขตวัฒนา 2. ตลาดหทัยมิตร เขตคลองสามวา 3. ตลาดสดนครไทย เขตบางกะปิ 4. ตลาดนครเพชรเกษม เขตหนองแขม 5.ตลาดอุดมผล เขตลาดกระบัง 6. ตลาด AEC รามคำแหง เขตมีนบุรี 7. ตลาดเมืองทอง 1 เขตหลักสี่ 8.ตลาดสดเคะทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ 9. ตลาดมณีพิมาน เขตบางแค 10. ตลาดศูนย์การค้าบางแค เขตบางแค (ข้อมูล ณ วันที่ 27 พฤษภาคม 2568) |
200 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | กิจกรรมการดำเนินการตามนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร นโยบาย ที่ 171 มุ่งเป้าติดตั้งระบบบำบัดน้ำเสียต้นทาง | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | ผลตรวจหาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร 8 ชนิด ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น (ข้อมูล ณ วันที่ 1 ต.ค. 67 - 30 เม.ย. 68) มีการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 45,281 ตัวอย่าง ผ่านเกณฑ์ฯ/ไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 45,248 ตัวอย่าง (ร้อยละ 99.93) ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 33 ตัวอย่าง (ร้อยละ 0.07) ทั้งนี้ ตัวอย่างที่ไม่ผ่านเกณฑ์ฯ/พบการปนเปื้อน ได้รับการแก้ไขพร้อมทั้งดำเนินการเก็บตัวอย่างตรวจซ้ำและไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ จำนวน 33 ตัวอย่าง ดังนั้น ผลการดำเนินการร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ได้รับสุ่มตรวจไม่พบการปนเปื้อนสารพิษ คิดเป็นร้อยละ 100 |
201 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | กิจกรรมการดำเนินการตามนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร นโยบาย ที่ 171 มุ่งเป้าติดตั้งระบบบำบัดน้ำเสียต้นทาง | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | สถานประกอบการอาหารที่ได้การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2567 – 5 มิถุนายน 2568 รายละเอียด ดังนี้ 1) สถานประกอบการอาหารที่ได้รับใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้ง ทั้งหมด 24,057 ราย 2) สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดี/เกรด C ตามกฎหมาย (ระดับ 3 ดาว) จำนวน 9,851 ราย คิดเป็นร้อยละ 40.95 3) สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีมาก/เกรด B (ระดับ 4 ดาว/Green Service) จำนวน 5,310 ราย คิดเป็นร้อยละ 22.07 4) สถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ ระดับดีเลิศ/เกรด A (ระดับ 5 ดาว/Green Service Plus) จำนวน 2,889 ราย คิดเป็นร้อยละ 12.01 (ข้อมูลจากระบบสารสนเทศงานสุขาภิบาลอาหาร ณ วันที่ 5 มิถุนายน 2568) |
202 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | โครงการคลินิกให้คำปรึกษา (งบเงินอุดหนุน 3,856,500 บาท) | ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10-10 (4) | 0 | (จำนวนเรื่องร้องเรียนจากผู้รับบริการในสถานพยาบาล และกลุ่มเปราะบางในพื้นที่กรุงเทพมหานครด้านกฎหมายและนโยบาย (0) x 100)/ จำนวนเรื่องร้องเรียนทั้งหมดจากผู้รับบริการในสถานพยาบาล และกลุ่มเปราะบางในพื้นที่กรุงเทพมหานคร (2) = (0x100)/2 = 0) (ข้อมูล ณ วันที่ 4 มิถุนายน 2568) แหล่งข้อมูล: ระบบรับเรื่องร้องเรียนและคุ้มครองการละเมิดสิทธิด้านเอดส์ เพศภาวะ และความเป็นกลุ่มประชากรเปราะบางต่อการถูกเลือกปฏิบัติ (CRS) |
203 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | กิจกรรมไข้หวัดใหญ่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | อยู่ในระหว่างให้บริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ โดยผลการดำเนินงานรวมทุกศูนย์บริการสาธารณสุข ระหว่างวันที่ 1 – 15 พ.ค.68 มีผู้รับบริการฉีดวัคซีน จำนวน 22,493 ราย คิดเป็นร้อยละ 17.09 (เมื่อเทียบกับจำนวนวัคซีนที่ได้รับการจัดสรรทั้งหมด จำนวน 131,620 โดส) |
204 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | กิจกรรมประสานส่งต่อผู้ป่วยวัณโรคอย่างมีประสิทธิภาพ โดยศูนย์กลางการส่งต่อผู้ป่วยวัณโรค (TB Referral Center) | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | ผลการดำเนินงาน ผู้ป่วยวัณโรคที่ดำเนินการส่งต่อ ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 31 พฤษภาคม 2568 จำนวนผู้ป่วยที่ส่งต่อทั้งสิ้น จำนวน 373 ราย 1. จำนวนผู้ป่วยที่ส่งต่อถึงปลายทาง จำนวน 361 ราย 2. จำนวนผู้ป่วยที่ส่งต่อยังไม่ถึงปลายทาง จำนวน 11 ราย (ยังไม่ถึงวันนัดหมาย) 3. จำนวนผู้ป่วยที่ส่งต่อไม่ถึงปลายทาง จำนวน 1 ราย (ติดต่อไม่ได้/เสียชีวิต/ย้ายที่อยู่) คิดเป็นร้อยละ 96.78 |
205 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | โครงการให้บริการฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | การจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ของโครงการดำเนินการเสร็จเรียบร้อยแล้ว มีการประสานและจัดสรรสื่อประชาสัมพันธ์ของโครงการให้แก่ศูนย์บริการสาธารณสุขทุกแห่ง และอยู่ในระหว่างการสำรวจและยืนยันยอดนักเรียนกลุ่มเป้าหมายที่ประสงค์ขอรับวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ รวมทั้งวางแผนให้บริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่แก่นักเรียนกลุ่มเป้าหมายตามแผนงานของศูนย์บริการสาธารณสุขต่อไป |
206 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | โครงการบริการเชิงรุกสุขภาพดีในพื้นที่เป้าหมาย (งบเงินอุดหนุน 168,800 บาท) | ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10 10 (1) | 100.64 | จํานวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ยังมีชีวิตอยู่รู้สถานะการติดเชื้อของตนเองทั้งหมดในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน = 89,779 คน หารด้วยจํานวนคาดประมาณผู้ติดเชื้อเอชไอวีทั้งหมดในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน = 89,207 คน * 100 คิดเป็นร้อยละ 100.64 |
207 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | โครงการสร้างเสริมพัฒนาการด้านภาษาสำหรับเด็กปฐมวัยในชุมชน (เงินนอกงบประมาณฯ 277,480 บาท) | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 90.2 | อยู่ระหว่างดำเนินการ ผลการดำเนินการเดือน พฤษภาคม 2568 เฝ้าระวังและคัดกรองพัฒนาการ จำนวน 65,910 คน มีพัฒนาการสมวัย 59,451 คน คิดเป็นร้อยละ 90.20 |
208 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | กิจกรรมรักษาผู้ป่วยวัณโรคด้วยระบบการกำกับกินยาแบบมีพี่เลี้ยง (DOT/VOT) ที่มีคุณภาพ | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | อัตราความสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภท ไตรมาสที่ 3/2567 (ย้อนหลัง 1 ปีงบประมาณ) ผู้ป่วยวัณโรคที่รักษาสำเร็จ 124 ราย ผู้ป่วยวัณโรคที่นำมาประเมิน 137 ราย อัตราความสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภท 90.51 อัตราความสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภทต้องรายงานย้อนหลัง1ปี เนื่องจากการรักษาวัณโรค ต้องใช้เวลา 6-12 เดือน แล้วแต่กรณี |
209 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | โครงการการบริการป้องกันและดูแลรักษาโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ์ (งบเงินอุดหนุน 33,839,900 บาท) | ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10-10 (5) | 0 | ผู้ติดเชื้อ HIV ที่รายงานว่าเคยถูกตีตราและเลือกปฏิบัติเนื่องจาก HIV ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา ซึ่งเป็นข้อมูลการสำรวจ (ปีเว้นปี) โดยกระทรวงสาธารณสุข และในปี 2568 รอดำเนินการสำรวจในช่วงเดือนพฤษภาคม - กรกฎาคม จึงรายงานเป็น 0 |
210 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | โครงการการบริการป้องกันและดูแลรักษาโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ์ (งบเงินอุดหนุน 33,839,900 บาท) | ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10 10 (1) | 0 | จํานวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ยังมีชีวิตอยู่รู้สถานะการติดเชื้อของตนเองทั้งหมดในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน = 89,779 คน หารด้วยจํานวนคาดประมาณผู้ติดเชื้อเอชไอวีทั้งหมดในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ณ ช่วงเวลาที่รายงาน = 89,207 คน * 100 คิดเป็นร้อยละ 100.64 |
211 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 05-06-2025 | โครงการบริการเชิงรุกสุขภาพดีในพื้นที่เป้าหมาย (งบเงินอุดหนุน 168,800 บาท) | ดัชนี HIV ที่ 95-95 95 และ 10-10-10 (5) | 0 | ผู้ติดเชื้อ HIV ที่รายงานว่าเคยถูกตีตราและเลือกปฏิบัติเนื่องจาก HIV ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา ซึ่งเป็นข้อมูลการสำรวจ (ปีเว้นปี) โดยกระทรวงสาธารณสุข และในปี 2568 รอดำเนินการสำรวจในช่วงเดือนพฤษภาคม - กรกฎาคม จึงรายงานเป็น 0 |
212 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 04-06-2025 | โครงการบูรณาการความร่วมมือในการพัฒนาประสิทธิภาพการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล (เงินนอกงบประมาณฯ 782,260 บาท) | จำนวนชุดข้อมูลความเสี่ยงที่ได้รับการปรับปรุงให้เป็นปัจจุบัน | 0 | ส่งข้อมูลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกให้ผู้รับผิดชอบหลักเพื่อนำเข้าข้อมูล BKK Risk Map และพัฒนาระบบแผนที่ในข้อมูลเสี่ยงภัย (โรคไข้เลือดออก) แล้ว |
213 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 04-06-2025 | โครงการเสริมสร้างความรู้และทักษะการป้องกันความรุนแรงในครอบครัวสำหรับนักเรียนในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร (เงินนอกงบประมาณฯ 278,000 บาท) | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | กิจกรรมที่ 1 ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว กิจกรรมที่ 2 อยู่ระหว่างดำเนินการประสานรายชื่อวิทยากรและกลุ่มเป้าหมาย คือนักเรียนโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร |
214 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 04-06-2025 | กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการแก้ไขเรื่องร้องเรียน/ร้องทุกข์ ในระบบ Traffy Fondue | ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยในการแก้ไขปัญหา (แจกแจงรายหน่วยงาน) | 0 | จากข้อมูลในระบบ Traffy Fondue ความพึงพอใจของประชาชนอยู่ที่ 3.85/5 (1 ตุลาคม 2567 – 4 มิถุนายน 2568) จากผู้ประเมิน 113 ครั้ง 5 ดาว : 64 คน, 4 ดาว : 15 คน, 3 ดาว : 8 คน, 2 ดาว : 5 คน, 1 ดาว : 21 คน |
215 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 04-06-2025 | กิจกรรมสนับสนุนการฝึกซ้อมแผนเผชิญเหตุ ระดับ 1 | จำนวนกลุ่มเขตที่ได้รับการฝึกซ้อมแผนเผชิญเหตุ ระดับ 1 (ฝึกซ้อมแผนเผชิญเหตุสาธารณภัย) | 0 | - สก.สนอ.ประสานส่วนราชการสังกัดสำนักอนามัยที่จัดกิจกรรมฝึกซ้อมแผนเผชิญเหตุ ระดับ 1 เรียบร้อยแล้ว ตั้งแต่ พ.ย. 67 – พ.ค. 68 มีส่วนราชการที่ดำเนินการฝึกซ้อมแล้ว จำนวน 8 ส่วนราชการ กรุงเทพตะวันออก, กรุงธนเหนือ, กรุงเทพใต้ - สปภ.มีหนังสือที่ กท 1802/783 ลงวันที่ 30 เมษายน 2568 ประสานสำนักอนามัยขอให้ส่งรายชื่อข้าราชการที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยเข้าร่วมการฝึกซ้อมแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ประจำปี พ.ศ. 2568 ในช่วงเดือนกรกฎาคม - สิงหาคม 2568 จำนวน 3 กิจกรรม ดังนี้ กิจกรรมที่ 1 TTX ซ้อนแผนชนิดบนโต๊ะ น้ำท่วมขัง ระดับสำนักงานเขต กิจกรรมที่ 2 TTX ซ้อนแผนชนิดบนโต๊ะ อุทกภัย ระดับกรุงเทพมหานคร วันที่ 3 ก.ค.68 (สถานีดับเพลิงบางบอน) กิจกรรมที่ 3 FSX ซ้อมแผนชนิดเต็มรูปแบบ เกิดเพลิงไหม้บนเรือสำราญในแม่น้ำเจ้าพระยา วันที่ 19 ก.ค. 68 (ใต้สะพานพระราม 8 เขตบางพลัด) ผู้เข้าร่วมการฝึกซ้อมแผนประกอบด้วย จนท. จากส่วนราชการ ดังนี้ - สรส. = 3 คน - กสภ. = 3 คน - ศบส.65 = 4 คน - ศบส.31 = 4 คน - สก.สนอ.= 2 คน |
216 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 04-06-2025 | โครงการร้านยาเครือข่าย สำนักอนามัย (เงินนอกงบประมาณฯ 50220 บาท) | ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ ศูนย์บริการสาธารณสุขและเครือข่ายร้านขายยาในเขตพื้นที่บริการของ 7 Health Zone ได้รับการเชื่อมโยงระบบ Tele - Health | 0 | ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ ศูนย์บริการสาธารณสุขและเครือข่ายร้านขายยาในเขตพื้นที่บริการของ 7 Health Zone ได้รับการเชื่อมโยงระบบ Tele – health (ค่าเป้าหมาย ร้อยละ 100 ; ดำเนินการแล้วร้อยละ 100 ; ศูนย์บริการสาธารณสุขเชื่อมครบทั้ง 69 แห่ง) ** เพิ่มเติมข้อมูลจากข้อเสนอแนะของ สยป.ค่ะ โครงการร้านยาเครือข่าย สำนักอนามัย ปัจจุบันมีจำนวนร้านยาเครือข่าย ทั้งสิ้น 167 ร้าน ซึ่งทางกองเภสัชกรรม สำนักอนามัย ได้กำหนดเกณฑ์ในการคัดเลือกร้านยาที่ประสงค์เข้าร่วมเครือข่าย ประกอบด้วย 1. มีใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน (ขย.5) 2. เป็นร้านยาที่มีเภสัชกรอยู่ปฏิบัติหน้าที่ตลอดเวลาเปิดทำการ 3. สามารถดำเนินกิจกรรมร่วมกับสำนักอนามัยตามเกณฑ์ที่กำหนด ซึ่งทั้งนี้ ทางกองเภสัชกรรมได้ประชาสัมพันธ์ให้ร้านยาในกรุงเทพมหานคร ทั้งร้านยาในโครงการของ สปสช.และร้านยาเครือข่ายสำนักอนามัย เข้าร่วมศูนย์บริการสุขภาพเวชศาสตร์เขตเมือง (UMSC) สำนักอนามัย เพื่อเพิ่มการเชื่อมโยง ประสานและส่งต่อข้อมูลได้ครอบคลุมพื้นที่กทม. |
217 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 04-06-2025 | โครงการการจัดทำแผนปฏิบัติราชการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อประจำปี 2568 (เงินนอกงบประมาณฯ 335,200 บาท) | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | สรุปผลและรายงานผลการดำเนินโครงการเรียบร้อยแล้ว |
218 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 04-06-2025 | โครงการอาสาสมัครกรุงเทพมหานครด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาและสารเสพติด (เงินนอกงบประมาณฯ 740,220 บาท) | 27. ร้อยละของชุมชนจดจัดตั้งที่มีความเสี่ยง และเฝ้าระวังปัญหาด้านยาเสพติด | 0 | ความคืบหน้าการดำเนินงานชุมชนจดจัดตั้งที่มีความเสี่ยง และเฝ้าระวังปัญหาด้านยาเสพติด จำนวน 2,003 ชุมชน โดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได่แก่ 1) ชุมชนเฝ้าระวัง 201 ชุมชม ในพื้นที่ 43 เขต ยกเว้นคลองเตย จตุจัก ดุสิต พระนคร วัฒนา สัมพันธวงศ์ และสายไหม ดำเนินการแล้ว รวม 200 ชุมชน ในพื้นที่ครบ 43 เขต (ร้อยละ 99.50) 2) ชุมชนรักษาสภาพ (เป้าหมาย 347 ชุมชน ในพื้นที่ 48 เขต ยกเว้นเขตบางนา และ พญาไท) ดำเนินการแล้ว รวม 346 ชุมชน ในพื้นที่ 47 เขต (ร้อยละ 99.71) และ 3) ชุมชนทั่วไป 1,455 ชุมชน |
219 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 04-06-2025 | โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพทันตแพทย์ (เงินนอกงบประมาณฯ 233,200 บาท) | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 97 | สรุปผลการดำเนินโครงการฯ เสนอผู้บริหารฯ เรียบร้อยแล้ว ตามบันทึกที่ กท.0703/4739 ลงวันที่ 15 พ.ค.2568 ผลสรุปดังนี้ ผลผลิต(Output) ร้อยละ 99 ของทันตแพทย์สำนักอนามัย ได้เข้ารับการประชุมเชิงปฎิบัติการพัฒนาศักยภาพทันตแพทย์ ผลลัพท์(Outcome) ร้อยละ 97 ของผู้เข้ารับการอบรมมีทดสอบหลังการอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 งบประมาณที่ได้รับ 233,200 บาท ใช้จริง 203,537.96 บาท คงเหลือเงินคืน 29,662.04 บาท |
220 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 04-06-2025 | โครงการพัฒนา ประเมินและรับรองคุณภาพศูนย์บริการสาธารณสุข | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 43 | ปีงบประมาณ 2568 มีศูนย์บริการสาธารณสุข เข้าร่วมที่เข้าสู่กระบวนการประเมินและรับรองคุณภาพจากองค์กรภายนอก จำนวน 43 แห่ง ได้แก่ ศูนย์บริการสาธารณสุข 6, 8, 9, 11, 12, 13, 14, 15, 16, 17, 18, 19, 21, 22, 23, 24, 25, 26, 27, 30, 31, 33, 34, 35, 36, 38, 39, 40, 41, 43, 44, 45, 47, 51, 52, 53, 55, 56, 58, 60, 63, 66, 67 (ค่าเป้าหมายกำหนดไว้ จำนวน 25 แห่ง) |
221 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 04-06-2025 | โครงการพัฒนาศักยภาพการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุระยะท้ายแบบประคับประคอง | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | โครงการพัฒนาศักยภาพการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุระยะท้ายแบบประคับประคอง ปีงบประมาณ 2568 ดำเนินการเสร็จสิ้นแล้ว และผู้ป่วยระยะท้าย ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง จำนวน 561 ราย จากจำนวนผู้ป่วยระยะท้ายได้รับการดูแลจากศูนย์บริการสาธารณสุขทั้งหมด 561 ราย (ข้อมูล ณ เดือน เมษายน 2568) คิดเป็นร้อยละ 100 (เพิ่มเติมข้อมูล จำนวนผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองลดลง เนื่องจากมีการเสียชีวิต โดยศูนยฺ์บริการสาธารณสุขได้ดำเนินการปิด Case และมีการ Update จำนวนผู้ป่วยระยะท้าย ให้ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องเป็นปัจจุบัน จึงทำให้ในเดือนเมษายน 2568 มีจำนวนผู้ป่วยระยะท้ายลดลง) |
222 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 04-06-2025 | โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติงานเฝ้าระวัง สอบสวน ควบคุมโรคติดต่อพื้นที่กรุงเทพมหานคร (เงินนอกงบประมาณฯ 296,200 บาท) | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | ศูนย์บริการสาธารณสุข/สำนักงานเขต มีการรายงาน สอบสวน ควบคุมโรคติดต่อ 50 เขต |
223 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 04-06-2025 | โครงการพัฒนาศักยภาพนักสังคมสงเคราะห์เพื่อการจัดบริการสังคมสงเคราะห์ (เงินนอกงบประมาณฯ 35,520 บาท) | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | กิจกรรมที่ 1 ดำเนินการจัดกิจกรรมระหว่าง วันที่ 25, 27 เมษายน และ วันที่ 2, 7 พฤษภาคม 2568 ณ ห้องประชุมชั้น 19 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร2 ดินแดง เรียบร้อยแล้ว กิจกรรมที่ 2 ลงพื้นที่นิเทศติดตามการดำเนินงานกลุ่มศูนย์บริการสาธารณสุข เรียบร้อยแล้ว โดยมีผลการนิเทศและติดตามผลการดำเนินงานของนักสังคมสงเคราะห์ ศูนย์บริการสาธารณสุข ทั้งหมด 65 แห่ง พบว่า ผลการประเมินอยุ่ในระดับดีเยี่ยม จำนวน 63 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 96.92 และอยู่ในระดับดี จำนวน 2 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 3.08 กิจกรรมที่ 3 ดำเนินการประชุมกรณีศึกษาในงานสังคมสงเคราะห์ จำนวน 2 ครั้ง และอยู่ระหว่างดำเนินการ 1 ครั้ง |
224 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 04-06-2025 | โครงการกรุงเทพมหานครปลอดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (เงินนอกงบประมาณฯ 1,531,800 บาท) | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | กิจกรรมที่ 1 ผลิตสื่อ สนับสนุนให้สำนักงานเขตจัดสภาพ แวดล้อมปลอดภัยเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และจัดกิจกรรมรณรงค์ในพื้นที่ อยู่ในขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้าง กิจกรรมที่ 2 จัดกิจกรรมรณรงค์เนื่องในวันงดดื่มสุราแห่งชาติ จะดำเนินการจัดงานวันที่ 3 กรกฎาคม 2568 กิจกรรมที่ 3 ผลิตสื่อเพื่อสนับสนุนร้านค้าปลอดเหล้าและบุหรี่เข้าพรรษา ขณะนี้อยู่ในขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้าง |
225 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 04-06-2025 | โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรที่ปฏิบัติงานเฝ้าระวัง สอบสวน ควบคุมโรคติดต่อพื้นที่กรุงเทพมหานคร (เงินนอกงบประมาณฯ 296,200 บาท) | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | - ดำเนินการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพข้าราชการตามหลักเกณฑ์การจัดตั้งหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรค เรียบร้อยแล้ว - ผู้เข้าอบรมที่ปฏิบัติงานในหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ ดำเนินการเฝ้าระวัง สอบสวนโรคป้องกันและควบคุมโรคติดต่ออันตรายหรือโรคระบาดในพื้นที่จัดตั้งทีมเฝ้าระวัง |
226 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 04-06-2025 | โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายในการเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (เงินนอกงบประมาณฯ 522,200 บาท) | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 0 | ดำเนินการติดตามและประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 1 |
227 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 04-06-2025 | โครงการพัฒนาประสิทธิภาพการบำบัดฟื้นฟูผู้เสพผู้ติดยาเสพติด (เงินนอกงบประมาณฯ 64,000 บาท) | ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดเข้าสู่ระบวนการบำบัดรักษา ได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพต่อเนื่องจนถึงการติดตาม (Retention Rate) | 0 | Retention Rate ปี 2568 ทุกระบบยกเว้นต้องโทษ จำนวนผู้เข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษาที่พ้นระยะการบำบัดรักษาและได้รับการจําหน่ายทั้งหมด จำนวน 3,755 ราย จำนวนผู้ที่ได้รับการติดตามดูแลช่วยเหลืออย่างต่อเนื่องหลังการบำบัดรักษา จำนวน 2,156 ราย = 57.42 % (ข้อมูลประจำเดือนพฤษภาคม 2568) |
228 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 04-06-2025 | โครงการพัฒนาระบบบริการส่งเสริมทันตสุขภาพเชิงรุกในกลุ่มผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง โดยใช้ กล้องส่องภายในช่องปาก | ร้อยละของผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงและต้องการเยี่ยมบ้านหรือการดูแลแบบประคับประคองได้รับการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน | 0 | กำลังดำเนินกิจกรรมที่ 3 ทีมเยี่ยมบ้านของศูนย์บริการสาธารณสุขทั้ง 69 แห่ง บูรณาการจัดบริการตรวจประเมินสภาวะสุขภาพช่องปากเชิงรุกร่วมกับสุขภาพกายและการให้คำแนะนำและการส่งต่อรักษาทางทันตกรรมในกลุ่มผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง ร้อยละทีมเยี่ยมบ้านตรวจและทำแผน (ผลผลิต) = 68 แห่ง คิดเป็นร้อยยละ 98.55 ร้อยละผู้สูงอายุได้รับการส่งต่อเข้าระบบ (ผลลัพธ์) = 2 คน |
229 | สำนักอนามัย | ![]() | ![]() | 04-06-2025 | โครงการบูรณาการความร่วมมือในการพัฒนาประสิทธิภาพการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล (เงินนอกงบประมาณฯ 782,260 บาท) | อื่นๆ (ตัวชี้วัดงานประจำ) | 13.16 | จำนวนผู้ป่วย 718 ราย อัตราป่วย = 13.16 (จำนวนผู้ป่วยปี 2568*100,000 )/ จำนวนประชากรปี 2567 = (552*100,000) /5,455,020 ค่าเปอร์เซ็นไทล์ที่ 3.40 (ข้อมูลสถานการณ์โรคไข้เลือดออกกรุงเทพมหานคร สัปดาห์ที่ ที่ 21 (ข้อมูลวันที่ 1 มกราคม - 24 พฤษภาคม 2568) ****เกณฑ์ = อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกปี2568 น้อยกว่าค่าเปอร์เซ็นไทล์ที่ 50 ของข้อมูล 5 ปีย้อนหลัง = 152.64 ต่อประชากรแสนคน หรือจำนวนผู้ป่วย 8,438 ราย**** |