1 | 8. สังคมดี | สนับสนุนเงื่อนไขการดำรงชีพคนไร้บ้าน คนพิการ และกลุ่มเปราะบาง | 8.2.1 กลุ่มเปราะบางเข้าถึงสวัสดิการ ตามความจำเป็นและเหมาะสม | ร้อยละ 80 | จำนวนหลักสูตรฝึกอาชีพที่ออกแบบสำหรับฝึกทักษะอาชีพให้คนพิการเพิ่มขึ้น | 5 หลักสูตร | สำนักพัฒนาสังคม | กิจกรรมปรับปรุงหลักสูตรและฝึกอาชีพสำหรับผู้สูงอายุ คนพิการ ของกรุงเทพมหานคร | 0.00 | สำนักพัฒนาสังคม | | 1=แผนฯ กทม. | |
2 | 8. สังคมดี | สนับสนุนเงื่อนไขการดำรงชีพคนไร้บ้าน คนพิการ และกลุ่มเปราะบาง | 8.2.1 กลุ่มเปราะบางเข้าถึงสวัสดิการ ตามความจำเป็นและเหมาะสม | ร้อยละ 80 | ร้อยละของคนไร้บ้านที่มาใช้บริการบ้านอิ่มใจสามารถกลับสู่สังคม | 20 ร้อยละ | สำนักพัฒนาสังคม | ค่าใช้จ่ายในการดำเนินการบ้านอิ่มใจ | 27,633,805.00 | สำนักพัฒนาสังคม | | 1=แผนฯ กทม. | |
3 | 8. สังคมดี | สนับสนุนเงื่อนไขการดำรงชีพคนไร้บ้าน คนพิการ และกลุ่มเปราะบาง | 8.2.1 กลุ่มเปราะบางเข้าถึงสวัสดิการ ตามความจำเป็นและเหมาะสม | ร้อยละ 80 | จำนวนครั้งในการให้บริการจุด drop-in | 1 ครั้ง/เดือน | สำนักพัฒนาสังคม | ศูนย์ประสานงานและช่วยเหลือคนเร่ร่อนไร้ที่พึ่งในพื้นที่สาธารณะของกรุงเทพมหานคร | 2,630,000.00 | สำนักพัฒนาสังคม | | 1=แผนฯ กทม. | |
4 | 8. สังคมดี | สนับสนุนเงื่อนไขการดำรงชีพคนไร้บ้าน คนพิการ และกลุ่มเปราะบาง | 8.2.2 กลุ่มเปราะบางเข้าถึงบริการที่ กรุงเทพมหานครจัดให้อย่างพอเพียงและปลอดภัย | . ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ร้อยละ 80 2. การแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียน ร้อยละ 100 | จำนวนวันที่มีการดำเนินการส่งต่ออาหารเพิ่มขึ้น | 5 วัน | สำนักพัฒนาสังคม | โครงการ BKK Food Bank ส่งต่ออาหารให้กลุ่มเปราะบางอย่างเป็นรูปธรรม | 2,618,600.00 | สำนักพัฒนาสังคม | | 1=แผนฯ กทม. | |
5 | 8. สังคมดี | สนับสนุนเงื่อนไขการดำรงชีพคนไร้บ้าน คนพิการ และกลุ่มเปราะบาง | 8.2.2 กลุ่มเปราะบางเข้าถึงบริการที่ กรุงเทพมหานครจัดให้อย่างพอเพียงและปลอดภัย | . ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ร้อยละ 80 2. การแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียน ร้อยละ 100 | จำนวนรูปแบบการสนับสนุนผ่านกระบวนการบ้านมั่นคง (เช่น การจัดสวัสดิการการพัฒนาพื้นที่สาธารณะในชุมชน สหกรณ์ออมทรัพย์ฯ ในพื้นที่ กทม.) | 2 รูปแบบ | สำนักพัฒนาสังคม | โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาและแก้ไขปัญหาที่อยู่อาศัยกรุงเทพมหานคร | 1,814,000.00 | สำนักพัฒนาสังคม | | 1=แผนฯ กทม. | |
6 | 8. สังคมดี | สนับสนุนเงื่อนไขการดำรงชีพคนไร้บ้าน คนพิการ และกลุ่มเปราะบาง | 8.2.2 กลุ่มเปราะบางเข้าถึงบริการที่ กรุงเทพมหานครจัดให้อย่างพอเพียงและปลอดภัย | . ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ร้อยละ 80 2. การแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียน ร้อยละ 100 | ร้อยละของพื้นที่เป้าหมายที่ทำงานร่วมกับ พอช. | 100 ร้อยละ | สำนักพัฒนาสังคม | 1. กิจกรรมประชุมคณะทำงานเร่งรัดการพัฒนาและแก้ไขปัญหาที่อยู่อาศัยกรุงเทพมหานคร
2. กิจกรรมประชุมคณะทำงานพัฒนาและแก้ไขปัญหาที่อยู่อาศัย ระดับเขต | 0.00 | สำนักพัฒนาสังคม | | 1=แผนฯ กทม. | |
7 | 8. สังคมดี | สนับสนุนเงื่อนไขการดำรงชีพคนไร้บ้าน คนพิการ และกลุ่มเปราะบาง | 8.2.2 กลุ่มเปราะบางเข้าถึงบริการที่ กรุงเทพมหานครจัดให้อย่างพอเพียงและปลอดภัย | . ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ร้อยละ 80 2. การแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียน ร้อยละ 100 | จำนวนฐานข้อมูลห้องพักชั่วคราวนักเรียนนักศึกษาจบใหม่ (Housing Incubator) และห้องเช่าราคาถูก ได้รับการปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน | 1 ฐานข้อมูล | สำนักพัฒนาสังคม | จัดทำระบบค้นหาห้องเช่าราคาถูกกรุงเทพมหานคร | 0.00 | สำนักพัฒนาสังคม | | 1=แผนฯ กทม. | |
8 | 8. สังคมดี | สร้างชุมชนเข้มแข็งร่วมพัฒนา | 8.3.1 โครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมชุมชนเข้มแข็ง ได้รับการประเมินความยั่งยืน | ทุกโครงการ/กิจกรรม | ร้อยละของข้อมูลครัวเรือนได้รับการปรับปรุงให้เป็นปัจจุบันโดยอาสาสมัครเทคโนโลยี (อสท.) | 70 ร้อยละ | สำนักพัฒนาสังคม | โครงการจ้างอาสาสมัครพัฒนาชุมชน | 30,482,700.00 | สำนักพัฒนาสังคม | | 1=แผนฯ กทม. | |
9 | 8. สังคมดี | สร้างชุมชนเข้มแข็งร่วมพัฒนา | 8.3.1 โครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมชุมชนเข้มแข็ง ได้รับการประเมินความยั่งยืน | ทุกโครงการ/กิจกรรม | กองทุนสวัสดิการชุมชน (กองทุน 3 ขา) (ยอดสะสม) | 47 กองทุน | สำนักพัฒนาสังคม | โครงการเสริมสร้างความรู้ด้านกองทุนสู่กรรมการชุมชนรุ่นใหม่ | 279,800.00 | สำนักพัฒนาสังคม | | 1=แผนฯ กทม. | |
10 | 8. สังคมดี | สร้างชุมชนเข้มแข็งร่วมพัฒนา | 8.3.1 โครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมชุมชนเข้มแข็ง ได้รับการประเมินความยั่งยืน | ทุกโครงการ/กิจกรรม | จำนวนครัวเรือนในกลุ่มออมทรัพย์ตามแนวทางบ้านมั่นคง (ยอดสะสม) | 450 ครัวเรือน | สำนักพัฒนาสังคม | โครงการบ้านมั่นคง (พอช. ดำเนินการ) | 0.00 | สำนักพัฒนาสังคม | | 1=แผนฯ กทม. | |
11 | 8. สังคมดี | สร้างชุมชนเข้มแข็งร่วมพัฒนา | 8.3.1 โครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมชุมชนเข้มแข็ง ได้รับการประเมินความยั่งยืน | ทุกโครงการ/กิจกรรม | ร้อยละของผู้เข้ารับการอบรมการออมและแหล่งเงินทุนสามารถจัดทำบัญชีครัวเรือนและถ่ายทอดได้ | 100 ร้อยละ | สำนักพัฒนาสังคม | โครงการ รู้ใช้ รู้เก็บ คนกรุงเทพฯ ชีวิตมั่นคง | 2,129,700.00 | สำนักพัฒนาสังคม | | 1=แผนฯ กทม. | |
12 | 8. สังคมดี | สร้างชุมชนเข้มแข็งร่วมพัฒนา | 8.3.1 โครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมชุมชนเข้มแข็ง ได้รับการประเมินความยั่งยืน | ทุกโครงการ/กิจกรรม | ร้อยละของชุมชนที่มีการการเบิกจ่ายงบประมาณตามโครงการชุมชนเข้มแข็งฯ ต่อชุมชน | 100 ร้อยละ | สำนักพัฒนาสังคม | ติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณตามโครงการชุมชนเข้มแข็งฯ ต่อชุมชน (โดยติดตามการเบิกจ่ายจากชุมชนที่ขอรับงบประมาณและได้รับอนุมัติโครงการจากคณะกรรมการอำนวยการฯ ระดับเขต) | 0.00 | สำนักพัฒนาสังคม | | 1=แผนฯ กทม. | |
13 | 8. สังคมดี | สร้างชุมชนเข้มแข็งร่วมพัฒนา | 8.3.2 ชุมชนรูปแบบพิเศษได้รับการจดจัดตังและ น้าเข้าข้อมูลชุมชน | 10 ชุมชน | จัดทำฐานข้อมูลชุมชนทุกประเภทครอบคลุมทั้งกรุงเทพฯ | ปรับปรุงข้อมูลทุกชุมชนให้เป็นปัจจุบัน ฐานข้อมูล | สำนักพัฒนาสังคม | กิจกรรมการจัดเก็บข้อมูลแบบสำรวจข้อมูลครัวเรือนในชุมชน (ระดับหลังคาเรือน) | 0.00 | สำนักพัฒนาสังคม | | 1=แผนฯ กทม. | |