๑.๑ - ปลอดมลพิษ ๑.๑.๑ แหล่งน้ำสาธารณะทั้งแม่น้ำสายหลักและคูคลองต่างๆ มีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภ | |
หน่วยนับ :ไม่น้อยกว่า 20 คลอง เป้าหมาย :20.00 ผลงาน :50.00 |
ดำเนินการสำรวจและรวบรวมข้อมูลทางกายภาพ ,จัดทำแผนการดำเนินการ , จัดทำโครงการพัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์คลอง เพื่อเริ่มดำเนินการตามแผนงานที่กำหนด
ดำเนินการสำรวจคลองเรียบร้อยแล้ว จำนวน 5 คลอง ได้แก่ 1.คลองแสนแสบ สำรวจวันที่ 3-5 มี.ค. 2564 2 คลองสามเสน สำรวจวันที่ 10-12 มี.ค. 2564 3 คลองบางซื่อ สำรวจวันที่ 3-5 มี.ค. 2564 4 คลองผดุงกรุงเกษม สำรวจวันที่ 17-19 มี.ค. 2564 5 คลองเปรมประชากร กำหนดสำรวจ วันที่ 24-26 มี.ค. 2564
ดำเนินการปรับปรุงภูมิทัศน์ตามแผนที่กำหนดดังนี้ 1.ปรับปรุงพื้นที่ภูมิทัศน์ บริเวณคลองสามเสน คลองบางซื่อ คลองผดุงกรุงเกษม คลองแสนแสบ คลองเปรมประชากร 2.ดำเนินการจัดทำจุด Check in และประดับตกแต่ง ติดตั้งป้ายจุดเช็คอิน ได้แก่ คลองสามเสน และดำเนินการจัดทำจุด Check in ได้แก่ บริเวณ คลองบางซื่อ คลองผดุงกรุงเกษม คลองแสนแสบ คลองสามเสน 3.ดำเนินการซ่อมแซม ทาสีสะพาน รั้วเหล็ก บริเวณคลองแสนแสบ 4.จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจจุดเสี่ยงริมคลองเพื่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน 5.ดำเนินการพัฒนา ปรับปรุง ภูมิทัศน์ ทำความสะอาด บริเวณริมคลอง
1. จัดทำโครงการ/กิจกรรม/แผนพัฒนาคลองในพื้นที่เขตดุสิต 2. แต่งตั้งคณะทำงานการปรับปรุงภูมิทัศน์คลองในพื้นที่กรุงเทพมหานครตัวชี้วัดเจรจาตกลงการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสำนักงานเขตดุสิต ที่ 940/2563 ลงวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2563 3. ดำเนินการพัฒนาและปรับปรุงภูมิทัศน์คลองในพื้นที่เขตดุสิต จำนวน 5 คลอง ได้แก่ คลองแสนแสบ คลองสามเสน คลองบางซื่อ คลองผดุงกรุงเกษม คลองเปรมประชากร ดังนี้ องค์ประกอบที่ 1 ความสวยงาม 1. คลองมีการพัฒนาสถานที่พักผ่อน จุดชมวิวทิวทัศน์และสร้างจุดเช็คอินอย่างน้อยเขตละ 1 จุดต่อคลอง -คลองแสนแสบ : บริเวณสะพานข้ามคลองแสนแสบ -คลองสามเสน : บริเวณสวนหย่อมข้างสะพานเทพหัสดิน ถนนพิชัย -คลองบางซื่อ : บริเวณสวนหย่อมเชิงสะพานพิบูลสงคราม ถนนประชาราษฎร์ สาย 1 -คลองผดุงกรุงเกษม : บริเวณสะพานข้ามคลอง (ข้างทำเนียบรัฐบาล) ถนนลูกหลวง -คลองเปรมประชากร : บริเวณหน้าวัดเบญจมบพิตร ถนนพระรามที่ 5 2. ติดตั้งป้ายอำนวยความสะดวกแก่ผู้มาเยือนอย่างครบถ้วน -สำรวจจุดติดตั้งและประสานสำนักการจราจรและขนส่งเพื่อดำเนินการติดตั้ง -ติดตั้งป้ายอำนวยความสะดวกแก่ผู้มาเยือนและป้ายประดับต่างๆ ให้มีความสวยงามและเป็นอัตลักษณ์ 3. มีการปรับปรุงท่าน้ำและบ้านเรือนภูมิทัศน์ริมคลองให้เกิดความสวยงามหรือมีสภาพที่ดีขึ้น 4.ปรับปรุงสะพานทางเดินข้ามคลองที่เชื่อมระหว่างบ้านกับชุมชนให้อยู๋ในสภาพพร้อมใช้งานและสภาพที่ดีขึ้น 5.ประชาสัมพันธ์และขอความร่วมมือบ้านเรือนที่อยู๋ริมคลองเพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์บ้านของตนเองให้เรียบร้อยสวยงาม องค์ประกอบที่ 2 ความสะอาด 6. ประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่างๆ เกี่ยวกับขยะในชุมชนริมคลอง เพื่อไม่ให้ประชาชนมีการทิ้งขยะลงคลอง 7. ให้ความรู้กับประชาชนริมคลอง เรื่อง การคัดแยกขยะและการจัดทำถังหรือบ่อดักไขมันสำหรับบ้านเรือน 8. บริหารจัดเก็บขยะเพื่อลดการทิ้งขยะลงในคลอง โดยจัดตั้งถังขยะไว้ตามจุดต่างๆ ริมคลอง พร้อมจัดเจ้าหน้าที่รักษาความสะอาดดูแลรักษาความสะอาดบริเวณริมคลองเป็นประจำทุกวัน องค์ประกอบที่ 3 ด้านความปลอดภัย 9.สำรวจทางเดินริมคลองและประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องซ่อมแซมหรือติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างตามที่สำรวจ 10.สำรวจไฟฟ้าส่องสว่างหากมีการชำรุดจัดทำหนังสือประสานการไฟฟ้าดำเนินการแก้ไข 11. ตรวจสอบและซ่อมแซมสิ่งปลูกสร้างตลอดแนวคลอง (ราวกันตก) ให้อยู่สภาพพร้อมใช้งาน หรือสภาพที่ดีขึ้น 12. ตรวจสอบและซ่อมแซมสิ่งปลูกสร้างตลอดแนวทาง (สะพานข้ามคลอง) ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานหรือสภาพดีขึ้น 13. ตรวจสอบซ่อมแซมและทาสี ราวเหล็กกันตกอยู่ในสภาพที่ดีพร้อมใช้งาน
๑.๑ - ปลอดมลพิษ๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย1 | |
หน่วยนับ :ร้อยละ 30 เป้าหมาย :20.00 ผลงาน :100.00 |
ดำเนินการจัดทำแผนการลงพื้นที่ในแต่ละชุมชน
ดำเนินการลงพื้นที่เพื่อทำการรณรงค์ส่งเสริมการลดและคัดแยกขยะ และประชาสัมพันธ์การนำขยะเศษอาหารกลับมาใช้ประโยชน์บริเวณตลาดศรีย่าน / ชุมชนเสริมสุข / ชุมชนสวนอ้อย
1.ดำเนินการลงพื้นที่เพื่อประชาสัมพันธ์การนำขยะเศษอาหารกลับมาใช้ประโยชน์ โดยสาธิตการทำเยื่อกระดาษจากเปลือกทุเรียนและเปลือกกล้วย และกระถางต้นไม้จากกากกาแฟและกากมะพร้าว ชุมชนบ้านพักองค์การทอผ้า ชุมชนตรอกต้นโพธิ์ 2.ดำเนินการผลิตน้ำยาเอนกประสงค์ / น้ำปุ๋ยชีวภาพ / ผลิตภัณฑ์ที่ทำจากเศษอาหาร เช่น กระถางต้นไม้, กระดาษสา, และจานรองแก้วใส่เมล็ดพันธุ์พืช จากกากมะพร้าว ผสมเปลือกทุเรียนและเปลือกกล้วย เพื่อเป็นต้นแบบการนำขยะเศษอาหารกลับมาใช้ประโยชน์ ให้แก่หน่วยงาน โรงเรียน และชุมชน
1. จัดทำโครงการฯ จำนวน 2 โครงการ 2. จัดทำคำสั่งมอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบ 3. จัดทำแผนการดำเนินงาน 4. ผลการดำเนินงาน ดังนี้ 4.1 ปริมาณการคัดแยกมูลฝอย 8,481.935 ตัน/ปี (รวม 16,577.00 ตัน/ปี หรือเท่ากับ 49.47 ตัน/วัน คิดเป็นร้อยละ 94.57 จัดเก็บมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์ ได้ปริมาณดังนี้ 1. เดือนตุลาคม 2563 = 1,530.76 ตัน 2. เดือนพฤศจิกายน 2563 =1,362.10 ตัน 3. เดือนธันวาคม 2563 =1,414.25 ตัน 4. เดือนมกราคม 2564 =1,398.18 ตัน 5. เดือนกุมภาพันธ์ 2564 =1325.77 ตัน 6. เดือนมีนาคม 2564 = 1452.03 ตัน 7. เดือนเมษายน 2564 = 1,627.56ตัน 8. เดือนพฤษภาคม 2564 = 1,621.54ตัน 9. เดือนมิถุนายน 2564 = 1,554.12 ตัน 10. เดือนกรกฎาคม 2564 = 1,620.13 ตัน 11. เดือนสิงหาคม 2564 = 1,670.57 ตัน 4.2 การดำเนินการตามเกณฑ์การประเมิน 4.2.1 การจัดการมูลฝอยและของเสียภายในหน่วยงาน - จัดให้มีภาชนะใส่ขยะแยกประเภทใช้ประโยชน์หรือแยกไว้ส่งกำจัดอย่างถูกสุขลักษณะ จำนวน 6 จุด - จัดกิจกรรมเก็บขยะรีไซเคิลขาย จำนวน 6 ครั้ง - ตั้งจุดรับขยะอันตราย จำนวน 2 จุด - ตั้งภาชนะใส่กระดาษใช้แล้ว 1 หน้า จำนวน 6 จุด - ตั้งภาชนะใส่กระดาษใช้แล้ว 2 หน้า จำนวน 6 ชุด - จัดจุด “ถุงผ้าให้ยืม” จำนวน 2 จุด 4.2.2 สำนักงานเขตดุสิตดำเนินการตามแนวทางข้อ 1 และรณรงค์ส่งเสริมบุคลากรและผู้มาติดต่อทิ้งมูลฝอยตามแนวทางที่กำหนดภายในพื้นที่รับผิดชอบ จำนวน 2 ครั้ง 4.2.3 การส่งเสริมชุมชนต้นแบบคัดแยกและนำมูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์ จำนวน 1 แห่ง และส่งประกวดในระดับกรม (ร่วมกับกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม) ได้แก่ ชุมชนพระยาประสิทธิ์
๑.๑ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย | |
หน่วยนับ :ร้อยละ 30 เป้าหมาย :20.00 ผลงาน :100.00 |
ดำเนินการจัดทำแผนการลงพื้นที่ในแต่ละชุมชน
ดำเนินการลงพื้นที่เพื่อทำการรณรงค์ส่งเสริมการลดและคัดแยกขยะ และประชาสัมพันธ์การนำขยะเศษอาหารกลับมาใช้ประโยชน์บริเวณตลาดศรีย่าน / ชุมชนเสริมสุข / ชุมชนสวนอ้อย
1.ดำเนินการลงพื้นที่เพื่อประชาสัมพันธ์การนำขยะเศษอาหารกลับมาใช้ประโยชน์ โดยสาธิตการทำเยื่อกระดาษจากเปลือกทุเรียนและเปลือกกล้วย และกระถางต้นไม้จากกากกาแฟและกากมะพร้าว ชุมชนบ้านพักองค์การทอผ้า ชุมชนตรอกต้นโพธิ์ 2.ดำเนินการผลิตน้ำยาเอนกประสงค์ / น้ำปุ๋ยชีวภาพ / ผลิตภัณฑ์ที่ทำจากเศษอาหาร เช่น กระถางต้นไม้, กระดาษสา, และจานรองแก้วใส่เมล็ดพันธุ์พืช จากกากมะพร้าว ผสมเปลือกทุเรียนและเปลือกกล้วย เพื่อเป็นต้นแบบการนำขยะเศษอาหารกลับมาใช้ประโยชน์ ให้แก่หน่วยงาน โรงเรียน และชุมชน
1. จัดทำโครงการฯ จำนวน 2 โครงการ 2. จัดทำคำสั่งมอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบ 3. จัดทำแผนการดำเนินงาน 4. ผลการดำเนินงาน ดังนี้ 4.1 ปริมาณการคัดแยกมูลฝอย 8,481.935 ตัน/ปี (รวม 16,577.00 ตัน/ปี หรือเท่ากับ 49.47 ตัน/วัน คิดเป็นร้อยละ 94.57 จัดเก็บมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดและนำไปใช้ประโยชน์ ได้ปริมาณดังนี้ 1. เดือนตุลาคม 2563 = 1,530.76 ตัน 2. เดือนพฤศจิกายน 2563 =1,362.10 ตัน 3. เดือนธันวาคม 2563 =1,414.25 ตัน 4. เดือนมกราคม 2564 =1,398.18 ตัน 5. เดือนกุมภาพันธ์ 2564 =1325.77 ตัน 6. เดือนมีนาคม 2564 = 1452.03 ตัน 7. เดือนเมษายน 2564 = 1,627.56ตัน 8. เดือนพฤษภาคม 2564 = 1,621.54ตัน 9. เดือนมิถุนายน 2564 = 1,554.12 ตัน 10. เดือนกรกฎาคม 2564 = 1,620.13 ตัน 11. เดือนสิงหาคม 2564 = 1,670.57 ตัน 4.2 การดำเนินการตามเกณฑ์การประเมิน 4.2.1 การจัดการมูลฝอยและของเสียภายในหน่วยงาน - จัดให้มีภาชนะใส่ขยะแยกประเภทใช้ประโยชน์หรือแยกไว้ส่งกำจัดอย่างถูกสุขลักษณะ จำนวน 6 จุด - จัดกิจกรรมเก็บขยะรีไซเคิลขาย จำนวน 6 ครั้ง - ตั้งจุดรับขยะอันตราย จำนวน 2 จุด - ตั้งภาชนะใส่กระดาษใช้แล้ว 1 หน้า จำนวน 6 จุด - ตั้งภาชนะใส่กระดาษใช้แล้ว 2 หน้า จำนวน 6 ชุด - จัดจุด “ถุงผ้าให้ยืม” จำนวน 2 จุด 4.2.2 สำนักงานเขตดุสิตดำเนินการตามแนวทางข้อ 1 และรณรงค์ส่งเสริมบุคลากรและผู้มาติดต่อทิ้งมูลฝอยตามแนวทางที่กำหนดภายในพื้นที่รับผิดชอบ จำนวน 2 ครั้ง 4.2.3 การส่งเสริมชุมชนต้นแบบคัดแยกและนำมูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์ จำนวน 1 แห่ง และส่งประกวดในระดับกรม (ร่วมกับกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม) ได้แก่ ชุมชนพระยาประสิทธิ์