**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** | |
หน่วยนับ :ฉบับ เป้าหมาย :1.00 ผลงาน :15.00 |
อยู่ระหว่างการดำเนินการเพื่อกำหนดพื้นที่เริ่มต้นในการพัฒนาสู่เมืองอัจฉริยะ โดยศึกษาข้อมูล หลักเกณฑ์ กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และข้อมูลพื้นที่ของกรุงเทพมหานครที่มีศักยภาพที่สามารถพัฒนาสู่ความเป็นเมืองอัจฉริยะ (Smart City)
เลือกบริเวณเกาะรัตนโกสินทร์ชั้นในเป็นพื้นที่เป้าหมาย โดยความร่วมมือระหว่างกทม.กับม.ศิลปากร ปัจจุบันอยู่ระหว่างรวบรวมข้อคิดเห็นเกี่ยวกับร่าง MOU ความร่วมมือระหว่างกทม.กับม.ศิลปากร เพื่อพัฒนาพื้นที่บริเวณเกาะรัตนโกสินทร์ เสนอต่อปลัดกรุงเทพมหานครนำเรียนผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครให้ความเห็นชอบ และพิจารณาผู้ลงนาม และเตรียมแนวทางในการดำเนินงานเพื่อพัฒนาพื้นที่
ปรับตัวชี้วัดเป็นไปตามที่ผู้อำนวยการสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลให้ความเห็นชอบตามที่กองยุทะศาสตร์บริหารจัดการเสนอ ซึ่งมีการปรับตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย วิธีคำนวณจากเดิม ซึ่งต้องดำเนินการจัดทำร่างแผนพัฒนาพื้นที่สู่ความเป็นเมืองอัจฉริยะ (Smart City) เป็นการจัดทำรายงานผลการศึกษาเบื้องต้นแนวทางการพัฒนาพื้นที่เป้าหมายสู่มหานครอัจฉริยะ ตามแนวทางการดำเนินการเกี่ยวกับการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีของหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานครในช่วงสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)
ดำเนินการแล้วเสร็จตามแผนที่กำหนด
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** | |
หน่วยนับ :ฉบับ เป้าหมาย :1.00 ผลงาน :15.00 |
อยู่ระหว่างการดำเนินการเพื่อกำหนดพื้นที่เริ่มต้นในการพัฒนาสู่เมืองอัจฉริยะ โดยศึกษาข้อมูล หลักเกณฑ์ กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และข้อมูลพื้นที่ของกรุงเทพมหานครที่มีศักยภาพที่สามารถพัฒนาสู่ความเป็นเมืองอัจฉริยะ (Smart City)
เลือกบริเวณเกาะรัตนโกสินทร์ชั้นในเป็นพื้นที่เป้าหมาย โดยความร่วมมือระหว่างกทม.กับม.ศิลปากร ปัจจุบันอยู่ระหว่างรวบรวมข้อคิดเห็นเกี่ยวกับร่าง MOU ความร่วมมือระหว่างกทม.กับม.ศิลปากร เพื่อพัฒนาพื้นที่บริเวณเกาะรัตนโกสินทร์ เสนอต่อปลัดกรุงเทพมหานครนำเรียนผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครให้ความเห็นชอบ และพิจารณาผู้ลงนาม และเตรียมแนวทางในการดำเนินงานเพื่อพัฒนาพื้นที่
ปรับตัวชี้วัดเป็นไปตามที่ผู้อำนวยการสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลให้ความเห็นชอบตามที่กองยุทะศาสตร์บริหารจัดการเสนอ ซึ่งมีการปรับตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย วิธีคำนวณจากเดิม ซึ่งต้องดำเนินการจัดทำร่างแผนพัฒนาพื้นที่สู่ความเป็นเมืองอัจฉริยะ (Smart City) เป็นการจัดทำรายงานผลการศึกษาเบื้องต้นแนวทางการพัฒนาพื้นที่เป้าหมายสู่มหานครอัจฉริยะ ตามแนวทางการดำเนินการเกี่ยวกับการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีของหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานครในช่วงสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)
ดำเนินการแล้วเสร็จตามแผนที่กำหนด
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** | |
หน่วยนับ :ฉบับ เป้าหมาย :1.00 ผลงาน :15.00 |
อยู่ระหว่างการดำเนินการเพื่อกำหนดพื้นที่เริ่มต้นในการพัฒนาสู่เมืองอัจฉริยะ โดยศึกษาข้อมูล หลักเกณฑ์ กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และข้อมูลพื้นที่ของกรุงเทพมหานครที่มีศักยภาพที่สามารถพัฒนาสู่ความเป็นเมืองอัจฉริยะ (Smart City)
เลือกบริเวณเกาะรัตนโกสินทร์ชั้นในเป็นพื้นที่เป้าหมาย โดยความร่วมมือระหว่างกทม.กับม.ศิลปากร ปัจจุบันอยู่ระหว่างรวบรวมข้อคิดเห็นเกี่ยวกับร่าง MOU ความร่วมมือระหว่างกทม.กับม.ศิลปากร เพื่อพัฒนาพื้นที่บริเวณเกาะรัตนโกสินทร์ เสนอต่อปลัดกรุงเทพมหานครนำเรียนผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครให้ความเห็นชอบ และพิจารณาผู้ลงนาม และเตรียมแนวทางในการดำเนินงานเพื่อพัฒนาพื้นที่
ปรับตัวชี้วัดเป็นไปตามที่ผู้อำนวยการสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลให้ความเห็นชอบตามที่กองยุทะศาสตร์บริหารจัดการเสนอ ซึ่งมีการปรับตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย วิธีคำนวณจากเดิม ซึ่งต้องดำเนินการจัดทำร่างแผนพัฒนาพื้นที่สู่ความเป็นเมืองอัจฉริยะ (Smart City) เป็นการจัดทำรายงานผลการศึกษาเบื้องต้นแนวทางการพัฒนาพื้นที่เป้าหมายสู่มหานครอัจฉริยะ ตามแนวทางการดำเนินการเกี่ยวกับการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีของหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานครในช่วงสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)
ดำเนินการแล้วเสร็จตามแผนที่กำหนด
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** | |
หน่วยนับ :ฉบับ เป้าหมาย :1.00 ผลงาน :15.00 |
อยู่ระหว่างการดำเนินการเพื่อกำหนดพื้นที่เริ่มต้นในการพัฒนาสู่เมืองอัจฉริยะ โดยศึกษาข้อมูล หลักเกณฑ์ กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และข้อมูลพื้นที่ของกรุงเทพมหานครที่มีศักยภาพที่สามารถพัฒนาสู่ความเป็นเมืองอัจฉริยะ (Smart City)
เลือกบริเวณเกาะรัตนโกสินทร์ชั้นในเป็นพื้นที่เป้าหมาย โดยความร่วมมือระหว่างกทม.กับม.ศิลปากร ปัจจุบันอยู่ระหว่างรวบรวมข้อคิดเห็นเกี่ยวกับร่าง MOU ความร่วมมือระหว่างกทม.กับม.ศิลปากร เพื่อพัฒนาพื้นที่บริเวณเกาะรัตนโกสินทร์ เสนอต่อปลัดกรุงเทพมหานครนำเรียนผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครให้ความเห็นชอบ และพิจารณาผู้ลงนาม และเตรียมแนวทางในการดำเนินงานเพื่อพัฒนาพื้นที่
ปรับตัวชี้วัดเป็นไปตามที่ผู้อำนวยการสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลให้ความเห็นชอบตามที่กองยุทะศาสตร์บริหารจัดการเสนอ ซึ่งมีการปรับตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย วิธีคำนวณจากเดิม ซึ่งต้องดำเนินการจัดทำร่างแผนพัฒนาพื้นที่สู่ความเป็นเมืองอัจฉริยะ (Smart City) เป็นการจัดทำรายงานผลการศึกษาเบื้องต้นแนวทางการพัฒนาพื้นที่เป้าหมายสู่มหานครอัจฉริยะ ตามแนวทางการดำเนินการเกี่ยวกับการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีของหน่วยงานสังกัดกรุงเทพมหานครในช่วงสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)
ดำเนินการแล้วเสร็จตามแผนที่กำหนด
๕.๒.๑ ประชาชนมีส่วนร่วมในการเสนอนโยบายและตรวจสอบการทำางานของกรุงเทพมหานคร โดยการใช้ระบบง | |
หน่วยนับ :เล่ม เป้าหมาย :6.00 ผลงาน :20.00 |
ยังไม่มีการจัดเวทีให้ภาคประชาชนเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาพื้นที่เพื่อกำหนดนโยบายการพัฒนาเขต แต่มีการเตรียมการเพื่อดำเนินการในไตรมาสที่ 2 และ 3
เพื่อขับเคลื่อนให้สำนักงานเขตมีการจัดเวทีให้ภาคประชาชนเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาพื้นที่เพื่อกำหนดนโยบายการพัฒนาเขต สยป.โดย กยบ.ดำเนินการบริหารจัดการในช่วงไตรมาสที่ 2 ดังนี้ 1.ทำหนังสือถึง สก.สยป. เพื่อขอจัดสรรงบประมาณเป็นค่าใช้จ่ายในกิจกรรมที่ 2 ตามโครงการฯ ให้ส่วนราชการในสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล ตามหนังสือ ที่ กท 0502/154 ลว 29 ม.ค. 2563 และประสานฝ่ายการคลังทราบว่า สยป.มีหนังสือถึงผอ.สำนักงบประมาณ กทม. แล้วตามหนังสือ ด่วนมาก ที่ กท 0501/254 ลว 3 ก.พ. 2563 2. ทำหนังสือขอเห็นชอบผอ.สยป. ในการมอบหมายภารกิจให้กองยุทธศาสตร์ที่รับผิดชอบสำนักงานเขตในพื้นที่กลุ่มการปฏิบัติงานของสำนักงานเขต ตามแนวทางที่กำหนด และเวียนให้กองยุทธศาสตร์ฯ ทราบและถือปฏิบัติเรียบร้อยแล้ว ตามหนังสือ ที่ กท 0502/212 ลว 12 ก.พ. 2563 และหนังสือ ด่วนที่สุด ที่ กท 0502/244 ลว 19 ก.พ. 2563 ขณะนี้ กองยุทธศาสตร์ฯ ได้ประสานภาคีในพื้นที่เพื่อหาความร่วมมือ และร่างกำหนดการจัดประชุมร่วมกับสำนักงานเขต กองยุทธศาสตร์บริหารจัดการได้จัดประชุมหารือแนวทางในการดำเนินโครงการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนเพื่อกำหนดนโยบายการพัฒนาเชิงพื้นที่ของสำนักงานเขตในสถานการณ์การแพร่-ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Corona Virus Disease 2019 : COVID – 19) เมื่อวันพุธที่ 18 มีนาคม 2563 เวลา 09.30 – 11.00 น. ณ ห้องโสดสถิตย์ โดยมีผู้อำนวยการสำนักยุทธศาสตร์ และประเมินผลเป็นประธาน พร้อมด้วยคณะทำงานออกแบบรูปแบบกิจกรรมตามโครงการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนเพื่อกำหนดนโยบายการพัฒนาเชิงพื้นที่ของสำนักงานเขต และผู้แทนกองยุทธศาสตร์ที่รับผิดชอบ นั้น กองยุทธศาสตร์บริหารจัดการได้จัดทำสรุปสาระสำคัญของการประชุม ดังนี้ 1. รัฐบาลและกรุงเทพมหานครมีมาตรการในการควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID – 19) โดยให้เลื่อนการฝึกอบรม สัมมนา ศึกษาดูงานในประเทศและต่างประเทศ จนกว่าสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ จะปลอดภัย และให้เลื่อนหรืองดกิจกรรมที่มีคนมาร่วมจำนวนมากยากแก่การควบคุมฯ รายละเอียดปรากฏตามหนังสือสำนักงานเลขานุการผู้ว่าราชการ-กรุงเทพมหานคร ที่ กท 0200/ป.69/2563 ลงวันที่ 10 มีนาคม 2563 และสาระสำคัญของการประชุม-คณะรัฐมนตรี ในวันที่ 17 มีนาคม 2563 2. ที่ประชุมฯ ได้มีความเห็นร่วมกันว่า กิจกรรมที่ 2 และ 3 ภายใต้โครงการรับฟัง-ความคิดเห็นของประชาชนเพื่อกำหนดนโยบายการพัฒนาเชิงพื้นที่ของสำนักงานเขต เป็นการจัดประชุม-เพื่อรับฟังความคิดเห็นของประชาชน ซึ่งสุ่มเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ จึงเห็นควรปรับเปลี่ยนรูปแบบการดำเนินการ โดยงดกิจกรรมที่มีการชุมนุมของประชาชนจำนวนมาก แต่ให้ดำเนินการประสานความร่วมมือกับสถาบันการศึกษาและสำนักงานเขตเพื่อให้ได้เป้าหมายที่สำคัญ ดังนี้ 2.1 ทะเบียนประชาคมที่มีบทบาทในการพัฒนาพื้นที่เขต/กลุ่มเขต ประกอบด้วย รายชื่อประชาคม บทบาท ภารกิจ กิจกรรมสำคัญที่ดำเนินการ และผู้แทนฯ พร้อมที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้ 2.2 ข้อมูลบริบท ที่สะท้อนปัญหาและศักยภาพของพื้นที่ ซึ่งมาจากการหารือกับสถาบัน-การศึกษาและภาคราชการที่เป็นแกนหลักในการขับเคลื่อนกิจกรรม 2.3 โครงการ/กิจกรรมสำคัญ (Pilot Project) ที่ประชาคมพิจารณาจากข้อมูลบริบทของพื้นที่ หรือที่ประชาคมดำเนินการเพื่อพัฒนาศักยภาพหรือแก้ไขปัญหาของพื้นที่ 3. ผู้อำนวยการสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล สั่งการให้ทุกส่วนราชการที่รับผิดชอบกิจกรรม-ตามโครงการฯ ทบทวนการจัดทำกรอบเวลา (Time frame) และการใช้จ่ายงบประมาณในกิจกรรมฯ ของแต่ละพื้นที่ รวมถึงสื่อสารผลการประชุมให้ผู้บริหารและข้าราชการในส่วนราชการทราบ
ความก้าวหน้าตามกระบวนการของกิจกรรม โดยอยู่ระหว่างการดำเนินการตามองค์ประกอบของรายงานผลการศึกษาฯ รายละเอียด ดังนี้ ๑. รวบรวมทะเบียนประชาคมที่มีบทบาทในการพัฒนาพื้นที่เขต/กลุ่มเขต ๒. อยู่ระหว่างการจัดทำรายงานผลการศึกษาบริบทเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ในแต่ละสำนักงานเขต (รายละเอียดตามผลความคืบหน้า (โครงการ))
กองยุทธศาสตร์บริหารจัดการ ได้ดำเนินโครงการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนเพื่อกำหนดนโยบายการพัฒนาเชิงพื้นที่ของสำนักงานเขตเสร็จเรียบร้อยแล้ว ผลการดำเนินโครงการฯ ดังนี้ 1. เบิกจ่ายงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้งสิ้น 88,255.- บาท (แปดหมื่นแปดพันสองร้อยห้าสิบห้าบาทถ้วน) 2. การประเมินผลตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ โดยทุกกลุ่มการปฏิบัติงานของสำนักงานเขตรายงานผลการศึกษาบริบทเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ บรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนดไว้ ทั้งนี้ กองยุทธศาสตร์บริหารจัดการได้รวบรวมเพื่อเผยแพร่ในเว็บไซต์ของสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลเรียบร้อยแล้ว ความก้าวหน้าตามกระบวนการของกิจกรรม โดยอยู่ระหว่างการดำเนินการตามองค์ประกอบของรายงานผลการศึกษาฯ รายละเอียด ดังนี้ 1. รวบรวมทะเบียนประชาคมที่มีบทบาทในการพัฒนาพื้นที่เขต/กลุ่มเขต 2. อยู่ระหว่างการจัดทำรายงานผลการศึกษาบริบทเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ในแต่ละสำนักงานเขต (รายละเอียดตามผลความคืบหน้า (โครงการ)) โดยข้อมูล ณ วันที่ 24 กรกฎาคม 2563 มีการรายงานบัญชีประชาคมครบถ้วนแล้ว และสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลร่วมกับกลุ่มการปฏิบัติการของสำนักงานเขต ดำเนินกิจกรรมรับฟังความคิดเห็นของประชาชนเพื่อกำหนดนโยบายเชิงพื้นที่ ดังนี้ 1. กลุ่มกรุงธนใต้ ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการศึกษาเอกสาร สนทนากลุ่มย่อย (Focus group) กับผู้แทนมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และประชาคมในพื้นที่กลุ่มการปฏิบัติงานของสำนักงานเขต กลุ่มกรุงธนใต้แล้ว จำนวน 2 ครั้ง เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 18 มิถุนายน 2563 และวันพฤหัสบดีที่ 2 กรกฎาคม 2563 และได้ร่างประเด็น - การฟื้นฟูศักยภาพของคลองบางมด และคลองบางประทุม - การฟื้นฟู รักษา และต่อยอดสินค้าเกษตรเพิ่มมูลค่า - การพัฒนาศักยภาพของพื้นที่เพื่อการท่องเที่ยว - การเชื่อมต่อเส้นทางคมนาคมสายหลักและสายรอง - การเก็บข้อมูลศักยภาพของพื้นที่ และจัดประชุมตรวจสอบข้อมูลเพิ่มเติมต่อประเด็นการพัฒนากับหน่วยงานกรุงเทพมหานครที่เกี่ยวข้อง วันพุธที่ 15 กรกฎาคม 2563 2. กลุ่มกรุงธนเหนือ จัดประชุมรับฟังความเห็นฯ กับประชาคมและสำนักงานเขต เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2563 ณ ห้องรัตนโกสินทร์ โดยมีรองปลัดกรุงเทพมหานคร (นายพิชญา นาควัชระ) เป็นประธาน 3. กลุ่มกรุงเทพกลาง จัดประชุมรับฟังความเห็นฯ กับประชาคมและสำนักงานเขต เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2563 ณ สำนักงานเขตราชเทวี โดยมีรองปลัดกรุงเทพมหานคร (นางวิภารัตน์ ไชยานุกิจ) เป็นประธาน 4. กลุ่มกรุงเทพเหนือ จัดประชุมรับฟังความเห็นฯ กับประชาคม เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2563 ณ สำนักงานเขตจตุจักรโดยมีผู้อำนวยการสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล เป็นประธาน 5. กลุ่มกรุงเทพใต้ กำหนดจัดประชุมรับฟังความเห็นฯ กับประชาคมและสำนักงานเขต และ ในวันที่ 31 กรกฎาคม 2563 ณ Futuretales Labs โดยมีรองปลัดกรุงเทพมหานคร (นางวัลยา วัฒนรัตน์) เป็นประธาน 6. กลุ่มกรุงเทพตะวันออก กำหนดปฏิทินรับฟังความคิดฯ ดังนี้ - สยป. ร่วมกับสำนักงานเขต และรองปลัดกรุงเทพมหานคร (นายขจิต ชัชวานิชย์) (5 สค.63) ณ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง - สยป. ร่วมกับสำนักงานเขต และประชาคมในพื้นที่ (6 สค.63) ณ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง - สยป. ร่วมกับสำนักงานเขต และรองปลัดกรุงเทพมหานคร (นายขจิต ชัชวานิชย์และนางวันทนีย์ วัฒนะ) โดยมีรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (นายเกรียงยศ สุดลาภา) เป็นประธาน (11 สค. 63) ณ สำนักงานเขตประเวศ
๕.๒.๑ ประชาชนมีส่วนร่วมในการเสนอนโยบายและตรวจสอบการทำางานของกรุงเทพมหานคร โดยการใช้ระบบง | |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :80.00 ผลงาน :88.00 |
วันที่ 11 ตุลาคม 2562 ประชุมหารือร่วมกับสำนักพัฒนาสังคมเพื่อบูรณาการการทำงานร่วมกันในการจัดทำแผนพัฒนาชุมชน ณ ห้องนพรัตน์ / วันที่ 12 พฤศจิกายน 2562 ผอ.สยป. อนุมัติโครงการและรายละเอียดค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน / วันที่ 13 ธันวาคม 2562 ประชุมสำนักพัฒนาสังคม และกลุ่มการปฏิบัติงานของสำนักงานเขต เพื่อรับทราบและเตรียมการในเบื้องต้น ณ ห้องประชุม ชั้น 24 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกทม.2 / วันที่ 25 ธันวาคม 2562 ประชุมหารือร่วมกับสำนักพัฒนาสังคม เพื่อสรุปแนวทางและรูปแบบการดำเนินการฯ ให้แก่สำนักงานเขต ก่อนเข้าร่วมประชุมนำเสนอแนวทางการดำเนินโครงการสนับสนุนการจัดทำและทบทวนแผนพัฒนาชุมชนของชุมชนในแต่ละสำนักงานเขต ในวันจันทร์ที่ 20 มกราคม 2563 เวลา 08.๓0 – 16.30 น. ณ ห้องรัตนโกสินทร์
-จัดประชุมนำเสนอแนวทางการดำเนินโครงการสนับสนุนการจัดทำและทบทวนแผนพัฒนาชุมชนของชุมชนในแต่ละสำนักงานเขต เมื่อวันจันทร์ที่ 20 มกราคม 2563 เวลา 08.30 – 16.30 น. ณ ห้องรัตนโกสินทร์ โดยผู้เข้าร่วมการประชุม ประกอบด้วย ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร หัวหน้าหน่วยงาน หัวหน้าส่วนราชการ ผู้แทนสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) ผู้แทนชุมชน และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 250 คน -ปลัดกรุงเทพมหานคร (นางวิภารัตน์ ไชยานุกิจ ปฏิบัติราชการแทน) ได้อนุมัติโอนงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2563 ให้ 50 สำนักงานเขต เมื่อวันที่ 31 มกราคม 2563 รายละเอียดปรากฏตามหนังสือสำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร ที่ กท 1906/00174 ลงวันที่ 31 มกราคม 2563 -สำนักงานเขตดำเนินการจัดประชุมแจ้งชุมชนเพื่อรับทราบแนวทางการจัดทำและทบทวนแผนพัฒนาชุมชน โดยบางสำนักงานเขตได้จัดประชุมเรียบร้อยแล้ว แต่บางสำนักงานเขตมีการชะลอเนื่องจากเกิดการแพร่ระบาด COVID-19 [ข้อมูลเพิ่มเติม ในปี พ.ศ. 2562 มีชุมชนที่ได้จัดทำแผนพัฒนาชุมชนไปแล้ว จำนวน 1,182 ชุมชน (ข้อมูลจากสำนักพัฒนาสังคม) และข้อมูล ณ เดือนมกราคม 2563 กรุงเทพมหานครมีชุมชนทั้งสิ้น 2,068 ชุมชน ดังนั้นจะมีชุมชนดำเนินการทบทวนแผนพัฒนาชุมชนเดิมที่ได้จัดทำแล้ว จำนวน 1,182 ชุมชน คิดเป็นร้อยละ 57.16 และชุมชนที่ต้องดำเนินการจัดทำแผนพัฒนาชุมชนใหม่ จำนวน 886 ชุมชน คิดเป็นร้อยละ 42.84]
1.การจัดกิจกรรมที่ 2 จัดประชุมชี้แจงแนวทางฯ สำนักงานเขตสามารถจัดประชุมได้ จำนวน 17 สำนักงานเขต (ร้อยละ 34) ไม่สามารถจัดประชุมได้ จำนวน 33 สำนักงานเขต (ร้อยละ 66) 2.สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผลได้โอนงบประมาณให้สำนักงานเขต 50 สำนักงานเขต จำนวนเงิน 3,267,440.-บาท / เบิกจ่ายงบประมาณแล้ว 16 สำนักงานเขต (ร้อยละ 32) จำนวนเงิน 583,203.-บาท (ร้อยละ 17.85) / ส่งคืนเงินเรียบร้อยแล้ว 12 สำนักงานเขต (ร้อยละ 24) จำนวนเงิน 774,695.-บาท (ร้อยละ 23.71) / ยังไม่ประสงค์คืนเงิน 38 สำนักงานเขต (ร้อยละ 76) จำนวนเงิน 1,909,542.-บาท (ร้อยละ 58.44) 3.สำนักงานเขตที่มีโครงการ/กิจกรรมจากแผนพัฒนาชุมชนนำไปบรรจุในแผนปฏิบัติราชการของสำนักงานเขต ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓-2564 จำนวน 40 สำนักงานเขต คิดเป็นร้อยละ 80 4.สำนักงานเขตที่ไม่มีโครงการ/กิจกรรมจากแผนพัฒนาชุมชนบรรจุในแผนปฏิบัติราชการของสำนักงานเขต ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓-2564 มีจำนวน 10 สำนักงานเขต ประกอบด้วย สำนักงานเขตดินแดง สำนักงานเขตบางขุนเทียน สำนักงานเขตบางบอน สำนักงานเขตบางรัก สำนักงานเขตพญาไท สำนักงานเขตราชเทวี สำนักงานเขตลาดพร้าว สำนักงานเขตวังทองหลาง สำนักงานเขตสัมพันธวงศ์ และสำนักงานเขตหลักสี่ ขณะนี้สำนักงานเขตยังคงมีการดำเนินการจัดทำและทบทวนแผนพัฒนาชุมชน ทางกองยุทธศาสตร์บริหารจัดการจะให้สำนักงานเขตสรุปผลการดำเนินโครงการอีกครั้งในเดือนสิงหาคม 2563
มีสำนักงานเขตที่นำโครงการ/กิจกรรมจากแผนพัฒนาชุมชนไปบรรจุในแผนปฏิบัติราชการของสำนักงานเขต ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 - 2564 จำนวน 44 สำนักงานเขต (ยกเว้นสำนักงานเขตดินแดง บางขุนเทียน บางบอน ราชเทวี ลาดพร้าว และสัมพันธวงศ์ ) คิดเป็นร้อยละ 88 โดยจำแนกเป็นโครงการ/กิจกรรมจากแผนพัฒนาชุมชนไปบรรจุในแผนปฏิบัติราชการของสำนักงานเขต ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จำนวน 343 โครงการ/กิจกรรม และประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จำนวน 273 โครงการ/กิจกรรม
๕.๓.๑ ลดบทบาทส่วนกลางลงเหลือภารกิจหลักเท่าที่ต้องทำเท่าที่จำเป็นและให้อำานาจในการกำหนดนโ | |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :1.00 ผลงาน :10.00 |
กำหนดแนวทางการจัดเก็บรวบรวมข้อมุลผลการดำเนินงานตามเกณฑ์ชี้วัดฯ ประจำปี 2563 จำนวน 431 เกณฑ์ชี้วัด
อยู่ระหว่างดำเนินการเพื่อจัดเก็บและรวบรวมข้อมูลตามกรอบการประเมินเกณฑ์ชี้วัดและค่าเป้าหมายขั้นต่ำการจัดบริการสาธารณะของกรุงเทพมหานครในปี พ.ศ. 2563 (ข้อมูลผลการดำเนินงาน ปี พ.ศ.2562) รวมทั้งสิ้น 431 เกณฑ์ชี้วัด
- อยู่ระหว่างการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล ที่หน่วยงานหลัก 18 หน่วยงาน ได้จัดเก็บข้อมูลผลการดำเนินงานตามเกณฑ์ชี้วัดมาตรฐานการจัดบริการสาธารณะของ กทม. ที่รับผิดชอบ และบันทึกข้อมูลลงใน “โปรแกรมระบบประมวลผลข้อมูลเกณฑ์ชี้วัดฯ ของกรุงเทพมหานคร” รวม 431 เกณฑ์ ชี้วัดเรียบร้อยเเล้วเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2563 เพื่อรายงานต่อคณะกรรมการพิจารณาแนวทางการดำเนินงานด้านการกระจายอำนาจของ กทม. พิจารณาให้ความเห็นชอบ แล้วส่งให้สำนักงานคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่ อปท. ตามกำหนด (ภายใน 15 สิงหาคม 2563) ต่อไป
- ผลการประเมินการจัดบริการสาธารณะตามเกณฑ์ชี้วัดและค่าเป้าหมายขั้นต่ำมาตรฐานการจัดบริการสาธารณะของกรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ. 2563 จำนวน 421 เกณฑ์ ผ่านค่าเป้าหมายขั้นต่ำ จำนวน 409 เกณฑ์ชี้วัด (97.15%) ต่ำกว่าค่าเป้าหมาย จำนวน 6 เกณฑ์ชี้วัด(1.43%) ไม่มีความจำเป็นต้องดำเนินการจำนวน 3 เกณฑ์ชี้วัด (0.71%) และไม่มีบริการสาธารณะ จำนวน 3 เกณฑ์ชี้วัด (0.71%) - ผลการประเมินปี พ.ศ. 2562 ผ่านค่าเป้าหมาย 93.85 % - วิธการคำนวณ ( 97.15 - 93.85 = ร้อยละผลการประเมินที่ผ่านเกณฑ์เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.3)
๗.๒.๑ กรุงเทพมหานครมีระบบการติดตามและรายงานความก้าวหน้าผลการดำาเนินงานตามแผนพัฒนากรุงเทพ | |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :75.00 ผลงาน :86.00 |
อยู่ระหว่างดำเนินการให้กองยุทธศาสตร์และกองสารสนเทศภูมิศาสตร์รวบรวมข้อมูล เพื่อจัดทำข้อมูลประกอบตัวชี้วัด เพื่อจัดส่งให้คณะกรรมการกำกับการพัฒนาฐานข้อมูลดำเนินการต่อไป
นำเรื่องกิจกรรมการจัดเก็บตัวชี้วัดระดับเมืองให้เป็นระบบเข้าที่ประชุมคณะกรรมการกำกับการพัฒนาฐานข้อมูล ตามกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2563 ณ ห้องโสดสถิตย์ โดยที่ประชุมฯ มีความเห็นให้กองยุทธศาสตร์และกสศ.ที่รับผิดชอบตัวชี้วัดของหน่วยงานที่รับผิดชอบ เพิ่มเติมข้อมูล เช่น นิยาม วิธีการคำนวณหรือเกณฑ์การประเมิน แหล่งข้อมูล/เจ้าของข้อมูล และกองยุทธศาสตร์ฯ ที่รับผิดชอบ ลงในระบบ BMA Monitor ในส่วนของชุดข้อมูลประกอบตัวชี้วัดให้ใช้ชุดข้อมูลเดียวกับมิติที่ 4.1
อยู่ระหว่างขั้นตอนการเชื่อมชุดข้อมูลประกอบลงในฐานข้อมูลตัวชี้วัดระดับเมืองในระบบ BMA Monitor โดยกองยุทธศาสตร์และกองสารสนเทศภูมิศาสตร์ร่วมกันเชื่อมข้อมูลในส่วนของตนเองที่รับผิดชอบ และฝ่ายเทคนิคของกองสารสนเทศภูมิศาสตร์จะดำเนินการเชื่อมข้อมูลลงระบบให้แล้วเสร็จภายในวันอังคารที่ 30 มิถุนายน 2563 ได้ตรวจสอบความครบถ้วนของข้อมูลประกอบตัวชี้วัดระดับเมือง เป็นจำนวน 194 ตัวชี้วัด จาก 258 ตัวชี้วัด
ดำเนินโครงการแล้วเสร็จตามแผนงานที่วางไว้ พร้อมจัดทำรายงานนำเสนอปลัดกรุงเทพมหานคร ตามหนังสือสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล ด่วนที่สุด ที่ กท 0502/1700 ลงวันที่ 16 กันยายน 2563 โดยผลการดำเนินงานการจัดทำฐานข้อมูลตัวชี้วัดระดับเมืองมีข้อมูลในฐานข้อมูลทั้งสิ้น 223 ตัวชี้วัด คิดเป็นร้อละ 86.43
๗.๒.๑ กรุงเทพมหานครมีระบบการติดตามและรายงานความก้าวหน้าผลการดำาเนินงานตามแผนพัฒนากรุงเทพ | |
หน่วยนับ :หน่วยงาน เป้าหมาย :16.00 ผลงาน :16.00 |
สรุปผลการพิจารณาคุณภาพแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2564 ของหน่วยงานเรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่างนำเรียนปลัดกรุงเทพมหานครให้ความเห็นชอบและแจ้งหน่วยงานทราบ
จัดทำหนังสือประสานกองยุทธศาสตร์เพื่อสรุปผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2563 ของหน่วยงานระดับสำนัก ทั้ง 16 สำนัก ครั้งที่ 1 ภายในวันที่ 30 มิถุนายน 2563
1.หน่วยงานระดับสำนักที่มีผลการพิจารณาคุณภาพแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2564 ตามเกณฑ์ที่กำหนดไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จำนวน 16 สำนัก และมีผลคะแนนเป็น 3 อันดับแรก ได้แก่ 1)สำนักยุทธศาสตร์-และประเมินผล สำนักการระบายน้ำ ผลคะแนน คิดเป็นร้อยละ 100 2) สำนักสิ่งแวดล้อม สำนักการแพทย์ สำนักอนามัย สำนักการโยธา สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง ผลคะแนน คิดเป็นร้อยละ 98 และ 3)สำนักงาน ก.ก. ผลคะแนนคิดเป็นร้อยละ 95 2. หน่วยงานที่มีผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2563 ที่สามารถขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของตัวชี้วัดตามที่กำหนดไว้ในแผน (พิจารณาเฉพาะตัวชี้วัดเจรจาฯ) จำนวน 16 หน่วยงาน โดย 3 อันดับแรก ได้แก่ 1) สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และสำนักการจราจรและขนส่ง
๗.๒.๑ กรุงเทพมหานครมีระบบการติดตามและรายงานความก้าวหน้าผลการดำาเนินงานตามแผนพัฒนากรุงเทพ | |
หน่วยนับ :เครือข่าย เป้าหมาย :1.00 ผลงาน :1.00 |
อยู่ระหว่างปรับแแก้รายละเอียดโครงการ และประสานวิทยากรและสถานที่ฝึกอบรม
อยู่ระหว่างดำเนินการดังนี้ 1. จัดทำคำสั่งให้ข้าราชการที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมโครงการ 2. ประสานรายละเอียดสถานศึกษาดูงาน ณ วังจันทร์วันเลย์(ปตท.) จ.ระยอง และ อุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอากาศ จ.ชลบุรี 3. ประสานที่พักและสถานที่จัดอาหารเเก่ผู้เข้าร่วมโครงการ 4. ร่วมออกแบบกิจกรรมกลุ่ม (Workshop) กับวิทยากรจากสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA)
1. ดำเนินการพัฒนาศักยภาพบุคลากรเกี่ยวกับยุทธศาสตร์ด้านโครงสร้าวพื้นฐานเมือง แบะการจัดทำแผนยุทธศาสตร์เรียบร้อยเเล้ว 2. มีเครือข่ายด้านการพัฒนาโครงสร้าวพื้นฐานซึ่งประกอบด้วยหน่วยงานด้านโครงสร้าวพื้นฐานของกรุงเทพมหานคร และหน่วยงานอื่นๆของกรุงเทพมหานครที่เกี่ยวข้อง โดยเครือข่าย สามารถนำเสนอแนวทางการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเป็นรายพื้นที่ได้ จำนวนวน 4 พื้นที่
1. ดำเนินการพัฒนาศักยภาพบุคลากรเกี่ยวกับยุทธศาสตร์ด้านโครงสร้าวพื้นฐานเมือง แบะการจัดทำแผนยุทธศาสตร์เรียบร้อยเเล้ว 2. มีเครือข่ายด้านการพัฒนาโครงสร้าวพื้นฐานซึ่งประกอบด้วยหน่วยงานด้านโครงสร้าวพื้นฐานของกรุงเทพมหานคร และหน่วยงานอื่นๆของกรุงเทพมหานครที่เกี่ยวข้อง โดยเครือข่าย สามารถนำเสนอแนวทางการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเป็นรายพื้นที่ได้ จำนวนวน 4 พื้นที่
๗.๒.๑ กรุงเทพมหานครมีระบบการติดตามและรายงานความก้าวหน้าผลการดำาเนินงานตามแผนพัฒนากรุงเทพ | |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :100.00 |
อยู่ระหว่างดำเนินงาน
ดำเนินการพัฒนาระบบติดตามประเมินผลแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุกรุงเทพมหานคร ระยะที่ 2 โดยได้กำหนดให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องรายงานข้อมูลเข้าระบบในช่วงต้นไตรมาสที่ 3 ของปีงบประมาณ 2563 (เดือนเมษายน 2563) และจะดำเนินการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งานเพื่อนำมาปรับปรุงระบบในระยะต่อไป
- ดำเนินการสรุปผลข้อมูลจากการรายงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระบบ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ระยะครึ่งปี เพื่อนำเสนอต่อคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุกรุงเทพมหานครอย่างครบวงจร - อยู่ระหว่างการสำรวจความพึงพอใจจากผู้ใช้บริการระบบและจัดทำรายละเอียดผลการสำรวจความพึงพอใจและข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงระบบต่อไป
-ดำเนินการสรุปผลความพึงพอใจ เท่ากับ ร้อยละ 87.20 และจัดการประชุมร่วมกับผู้พัมนาระบบเพื่อเตรียมการพัฒนาระบบต่อไป โดยมุ่งเน้นการพัฒนาเพื่อตอบสนองข้อเสนอแนะของผู้ตอบแบบสอบถามในประเด็นการรวบรวมฐานข้อมูลด้านผู้สูงอายุในระบบต่อไป
๗.๒.๑ กรุงเทพมหานครมีระบบการติดตามและรายงานความก้าวหน้าผลการดำาเนินงานตามแผนพัฒนากรุงเทพ | |
หน่วยนับ :ฉบับ เป้าหมาย :1.00 ผลงาน :0.00 |
สำรวจความพึงพอใจของประชาชนต่อการดำเนินงานของกรุงเทพมหานคร ในการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 1 ด้านมหานครปลอดภัยและ เมื่อเดือน ธ.ค. 62 – ม.ค. 63 ผลการสำรวจ เป็นดังนี้ ความพึงพอใจของประชาชนต่อการดำเนินงานของกรุงเทพมหานครในการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานคร ในภาพรวมมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 3.40 โดยจำแนกคะแนนเฉลี่ยตามรายด้านได้ดังนี้ (1) ด้านมหานครปลอดภัย โดยมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 3.44 (2) ด้านมหานครสีเขียว สะดวกสบาย โดยมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 3.30
-ชะลอการดำเนินโครงการเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid 19)
-
๗.๒.๑ กรุงเทพมหานครมีระบบการติดตามและรายงานความก้าวหน้าผลการดำาเนินงานตามแผนพัฒนากรุงเทพ | |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :73.67 |
มีโครงการและกิจกรรมประจำพื้นฐานสนับสนุนตัวชี้วัด จำนว 10 โครงการ/กิจกรรม และความก้าวหน้าโครงการ/กิจรรมเฉลี่ย ร้อยละ 50.5
มีโครงการและกิจกรรมประจำพื้นฐานสนับสนุนตัวชี้วัด จำนวน 9 โครงการ/กิจกรรม และความก้าวหน้าเฉลี่ย ร้อยละ 73.67
-
๗.๓.๑ บุคลากรกรุงเทพมหานครเป็นผู้ปฏิบัติงานแบบมืออาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม และเป็นที่เชื่ | |
หน่วยนับ :ฉบับ เป้าหมาย :1.00 ผลงาน :1.00 |
ได้ดำเนินการจัดสัมมนาเพื่อพัฒนาองค์การสำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล เมื่อวันที่ 19-20 ธันวาคม 2562 ณ โรงแรมสตาร์ไลท์ เขาใหญ่ จ.นครราชสีมา ได้มีการทำกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์เพื่อค้นหาค่านิยมร่วมขององค์กร ซึ่งสรุปได้ 5 ตัว ภายในคำว่า SMART ได้แก่ 1. S=Strategy การดำเนินการแบบมีกลยุทธ์ 2.M= Modern ทันสมัยตามเทคโนโลยี 3.A=Adaptability การปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลง 4. R=Responsibility การรู้รับผิดชอบในงาน 5. T=Teamwork การทำงานร่วมกันอย่างเป็นทีม
-เวียนแจ้งผู้บริหารและทุกส่วนราชการเพื่อให้ข้อเสนอแนะข้อคิดเห็นในประเด็นพฤติกรรมย่อยของค่านิยม SMART ของ สยป.
-จัดทำค่านิยมร่วมองค์กร จำนวน 1 ฉบับ - ได้รายงานผลการดำเนินการถึงปลัดกรุงเทพมหานครเรียบร้อยแล้ว
๗.๕.๑ กรุงเทพมหานครให้บริการประชาชนด้วยความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องและโปร่งใส โดยประยุกต์ | |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :100.00 |
ที่ปรึกษาจัดสัมมนานำเสนอผลการศึกษาสำหรับงานงวดที่ ๒ AS - Is เมื่อวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๖๒ จำนวน ๗๕ คนณ โรงแรมรอยัลริเวอร์ และตามสัญญาจ้างฯ ที่ปรึกษาจะส่งมอบงานงวดที่ ๒ ในวันที่ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๖๒
อยู่ระหว่างการตรวจรับงานงวดที่ 3
ปรึกษาจัดสัมมนานำเสนอผลการศึกษาสำหรับงานงวดที่ 4 เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2563 ณ โรงแรมปรินซ์พาเลซ และตามสัญญาจ้างฯ ที่ปรึกษาจะส่งมอบงานงวดที่ 4 ภายในวันที่ 23 มิถุนายน 2563
ที่ปรึกษาส่งมอบงานงวดที่ 5 เรียบร้อยแล้ว และอยู่ระหว่างตรวจรับพัสดุฯ ภายใน 5 ต.ค. 63
๗.๕.๑ กรุงเทพมหานครให้บริการประชาชนด้วยความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องและโปร่งใส โดยประยุกต์ | |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :80.00 ผลงาน :53.33 |
โครงการพัฒนาระบบยืนยันและตรวจสอบตัวบุคคลในระบบดิจิทัล 30% โครงการพัฒนาระบบบริการภาครัฐ 30% โครงการจัดทำระบบศูนย์สอบและค่าข้อสอบเพื่อพัฒนาทักษะความรู้ด้านดิจิทัลแก่บุคลากร กรุงเทพมหานคร (Digital Skill) 25% โครงการพัฒนาระบบการให้บริการข้อมูลภูมิสารสนเทศกลางและพัฒนาระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการผังเมืองของกรุงเทพมหานคร 95%
โครงการพัฒนาระบบยืนยันและตรวจสอบตัวบุคคลในระบบดิจิทัล 50% โครงการพัฒนาระบบบริการภาครัฐ 50% โครงการจัดทำระบบศูนย์สอบและค่าข้อสอบเพื่อพัฒนาทักษะความรู้ด้านดิจิทัลแก่บุคลากร กรุงเทพมหานคร (Digital Skill) 40%
โครงการพัฒนาระบบยืนยันและตรวจสอบตัวบุคคลในระบบดิจิทัล 54% โครงการพัฒนาระบบบริการภาครัฐ 54% โครงการจัดทำระบบศูนย์สอบและค่าข้อสอบเพื่อพัฒนาทักษะความรู้ด้านดิจิทัลแก่บุคลากร กรุงเทพมหานคร (Digital Skill) 43%
โครงการพัฒนาระบบยืนยันและตรวจสอบตัวบุคคลในระบบดิจิทัล 57% โครงการพัฒนาระบบบริการภาครัฐ 57% โครงการจัดทำระบบศูนย์สอบและค่าข้อสอบเพื่อพัฒนาทักษะความรู้ด้านดิจิทัลแก่บุคลากร กรุงเทพมหานคร (Digital Skill) 46%
๗.๕.๑ กรุงเทพมหานครให้บริการประชาชนด้วยความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องและโปร่งใส โดยประยุกต์ | |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :80.00 ผลงาน :85.00 |
อยู่ระหว่างตรวจร่างสัญญาทั้ง 2 โครงการ ได้แก่โครงการปรับปรุงระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ และโครงการเพิ่มประสิทธิภาพ web portal กรุงเทพมหาคร
-อยู่ระหว่างดำเนินการตามสัญญา 1 โครงการ -อยู่ระหว่างขอทบทวนการอนุมัติเงินประจำงวด เพื่อลงนามในสัญญา 1 โครงการ
- เบิกจ่ายเงินแล้ว 1 โครงการ - อยู่ระหว่างขอทบทวนการอนุมัติเงินประจำงวด เพื่อลงนามในสัญญา 1 โครงการ
๗.๕.๑ กรุงเทพมหานครให้บริการประชาชนด้วยความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องและโปร่งใส โดยประยุกต์ | |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :80.00 ผลงาน :100.00 |
ปรับปรุงระบบเครือข่ายสื่อสารภายในของสำนักงานเขต อยู่ระหว่างขออนุมัติซื้อ ตามหนังสือที่ กท 0508/200 ลว. 5 ก.พ. 63 หน้าห้อง รผอ.สยป.รับเรื่องเมื่อ 6 ก.พ. 63 ปรับเปลี่ยนระบบเครือข่ายสื่อสารหลักของกรุงเทพมหานคร ขออนุมัติจ้างแล้ว อยู่ระหว่างขออนุมัติปรับลดระยะเวลาการจ้างจาก 12 เดือน เป็น 5 เดือน คงเหลือวงเงิน 31,041,666.67 บาท เนื่องจากระยะเวลาได้ล่วงเลยจากที่กำหนดไว้ในขอบเขตของงานจ้างฯ
ปรับปรุงระบบเครือข่ายสื่อสารภายในของสำนักงานเขต อยู่ระหว่างขั้นตอนลงนามในสัญญา ปรับเปลี่ยนระบบเครือข่ายสื่อสารหลักของกรุงเทพมหานคร อยู่ระหว่างขออนุมัติปรับลดระยะเวลาการจ้างจาก 12 เดือน เป็น 3 เดือน คงเหลือวงเงิน 18,624,999.99 บาท
ปรับปรุงระบบเครือข่ายสื่อสารภายในของสำนักงานเขต สัญญาเลขที่ 3/2563 ลว. 19 มิถุนายน 2563 อยู่ระหว่างขั้นตอนดำเนินการตามสัญญา ปรับเปลี่ยนระบบเครือข่ายสื่อสารหลักของกรุงเทพมหานคร สัญญาเลขที่ 25/2563 ลว. 27 สิงหาคม 2563 อยู่ระหว่างขั้นตอนดำเนินการตามสัญญา
๗.๕.๑ กรุงเทพมหานครให้บริการประชาชนด้วยความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องและโปร่งใส โดยประยุกต์ | |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :80.00 ผลงาน :100.00 |
ขอเห็นชอบซื้อ อยู่ที่ รผอ.สยป.ส่งเมื่อวันที่ 11 ก.พ. 63 อยู่ระหว่างแก้ไขเอกสารประกอบขอเห็นชอบซื้อ และรับฟังคำวิจารณ์ TOR ครั้งที่ 2 วันที่ 18-23 มี.ค. 63
อยู่ระหว่างขั้นตอนขออนุมัติซื้อหนังสือที่ กท 0508/666 ลว. 21 พ.ค. 2563
สัญญาเลขที่ 4/2563 ลงนามวันที่ 23 กันยายน 2563
๗.๕.๑ กรุงเทพมหานครให้บริการประชาชนด้วยความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องและโปร่งใส โดยประยุกต์ | |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :80.00 ผลงาน :87.50 |
ขอนุมัติซื้อแล้ว ตามหนังสือที่ กท 0508/364 ลว. 9 มี.ค. และลงนาม 18 มี.ค. 63
จัดทำสัญญาเรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่างรอเงินประจำงวดเพื่อลงนามในสัญญา
อยู่ระหว่างรอเงินประจำงวดเพื่อลงนามในสัญญา
๗.๕.๑ กรุงเทพมหานครให้บริการประชาชนด้วยความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องและโปร่งใส โดยประยุกต์ | |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :20.00 ผลงาน :31.67 |
มาจากโครงการของหน่วยงานที่ขอผ่านบอร์ดในปีงบประมาณ 62 และ 63 โดยมียอดเงินงบประมาณ(ครุภัณฑ์)ที่ลดลง เป็นเงิน 45,199,870 บาท จากยอดเงินลงทุนของศูนย์ข้อมูล (Data Center)ของกรุงเทพมหานครเป็นเงิน 251,640,000 บาท
โครงการ จำนวน 24 โครงการ งบประมาณครุภํณฑ์คอมพิวเตอร์ 64,969,870 บาท นำมาคำนวณ สัดส่วนที่ลดลง มาจาก ต้นทุนงบประมาณครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ คูณด้วย 100 หารด้วยต้นทุนของ DC
งบประมาณครุภํณฑ์คอมพิวเตอร์ 79,701,570 บาท นำมาคำนวณ สัดส่วนที่ลดลง มาจาก ต้นทุนงบประมาณครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ คูณด้วย 100 หารด้วยต้นทุนของ DC
๗.๕.๑ กรุงเทพมหานครให้บริการประชาชนด้วยความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องและโปร่งใส โดยประยุกต์ | |
หน่วยนับ :ระบบงาน เป้าหมาย :2.00 ผลงาน :2.00 |
ดำเนินโครงการแล้วเสร็จตามแผนงานที่วางไว้แล้ว รอการติดตั้งใช้งานที่ศูนย์ DATA CENTER
ดำเนินโครงการแล้วเสร็จตามแผนงานที่วางไว้แล้ว รอการติดตั้งใช้งานที่ศูนย์ DATA CENTER
-ดำเนินโครงการแล้วเสร็จตามแผนงานที่วางไว้แล้ว รอการติดตั้งใช้งานที่ศูนย์ DATA CENTER
-ดำเนินโครงการแล้วเสร็จตามแผนงานที่วางไว้แล้ว รอการติดตั้งใช้งานที่ศูนย์ DATA CENTER