รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

3. ร้อยละของการปรับปรุงจุดเสี่ยงอันตราย (Black Spot) ที่เกิดอุบัติเหตุบ่อยครั้ง (ภายหลังการเกิดอุบัติเหตุ) : 1700-931

ค่าเป้าหมาย ผลผลิต : 0

ผลงานที่ทำได้ ผลผลิต : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 1:

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ผลผลิต)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

0 / 0
2
0.00

0 / 0
3
0.00

0 / 0
4
100.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการแล้วเสร็จตามสัญญา

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

1. จุดเสี่ยงอันตราย (Black Spot) ที่เกิดอุบัติเหตุ หมายถึง จุดเกิดอุบัติเหตุที่มีความถี่การเกิดไม่น้อยกว่า 3 ครั้งในรอบ 1 ปี โดยมีผู้บาดเจ็บหรือเสียชีวิต โดยพิจารณาคัดเลือกจุดเสี่ยง จากฐานข้อมูลสถิติการเกิดอุบัติเหตุ กำหนดให้เป็น จุดดำเนินการในปีงบประมาณที่ประเมิน ดังนี้ 1.1 จุดเสี่ยงอุบัติเหตุจาก Heat Map ใน 100 ลำดับแรกของคลัสเตอร์ตามความหนาแน่นของจุดเกิดอุบัติเหตุ โดยใช้ข้อมูลของ ThaiRSC และ iTIC ประกอบกัน (จำนวน100จุด) 1.2 จุดเสี่ยงอุบัติเหตุ ในสำนักงานเขตที่ไม่อยู่ใน 100 คลัสเตอร์ จำนวน 16 เขต โดยกำหนดจุดเสี่ยงจากฐานข้อมูล Risk map ของ ThaiRSC สำนักงานเขตละ 1 จุด (จำนวน 16 จุด) 2. การปรับปรุง หมายถึง การปรับปรุงจุดเสี่ยงอันตรายทางถนน ซึ่งเป็นไปตามอำนาจหน้าที่และขอบข่ายภารกิจของสำนักการจราจรและขนส่ง ได้แก่ - การสำรวจ ออกแบบ ประมาณการ เพื่อติดตั้ง รื้อย้ายถอดถอน และบำรุงรักษาเครื่องหมายจราจร อุปกรณ์วิศวกรรมจราจร และอุปกรณ์ความปลอดภัย

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

จำนวนจุดเสี่ยงอันตราย (Black Spot) ที่ได้รับการปรับปรุง × ๑๐๐ จำนวนจุดเสี่ยงอันตราย (Black Spot) ทั้งหมด

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง