๑.๑ - ปลอดมลพิษ ๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย1 | |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :30.00 ผลงาน :24.91 |
-ดำเนินการตามโครงการต่างๆ เพื่อคัดแยกแยะที่แหล่งกำเนิด ประเภทเศษอาหาร เศษผักเปลือกผลไม้ วัชพืช 1.ปริมาณมูลฝอยที่นำกลับมาใช้ประโยชน์ -เดือนตุลาคม 2562 จำนวน 1599.83 ตัน - เดือนพฤศจิกายน 2563 จำนวน 1577.20 ตัน - เดือนธันวาคม 2563 จำนวน 1667.55 ตัน รวมจัดเก็บขยะนำกลับมาใช้ประโยชน์ จำนวน 4844.58 ตัน 2. ปริมาณมูลฝอยอินทรีย์ที่นำกลับมาใช้ประโยชน์ -เดือนตุลาคม 2562 จำนวน 439.70 ตัน - เดือนพฤศจิกายน 2563 จำนวน 423.70 ตัน - เดือนธันวาคม 2563 จำนวน 459.20 ตัน รวมจัดเก็บมูลฝอยอินทรีย์ จำนวน 1322.60 ตัน
-ดำเนินการตามโครงการต่างๆ เพื่อคัดแยกแยะที่แหล่งกำเนิด ประเภทเศษอาหาร เศษผักเปลือกผลไม้ วัชพืช 1.ปริมาณมูลฝอยที่นำกลับมาใช้ประโยชน์ -เดือนมกราคม 2564 จำนวน 1686 ตัน - เดือนกุมภาพันธ์ 2564 จำนวน 1706.50 ตัน - เดือนมีนาคม 2564 จำนวน 1735.60 ตัน รวมจัดเก็บขยะนำกลับมาใช้ประโยชน์ จำนวน 5128.90 ตัน 2. ปริมาณมูลฝอยอินทรีย์ที่นำกลับมาใช้ประโยชน์ -เดือนมกราคม 2564 จำนวน 445.20 ตัน - เดือนกุมภาพันธ์ 2564 จำนวน 461.20 ตัน - เดือนมีนาคม 2564 จำนวน 459 ตัน รวมจัดเก็บมูลฝอยอินทรีย์ จำนวน 1365.40 ตัน
-ดำเนินการตามโครงการต่างๆ เพื่อคัดแยกแยะที่แหล่งกำเนิด ประเภทเศษอาหาร เศษผักเปลือกผลไม้ วัชพืช 1.ปริมาณมูลฝอยที่นำกลับมาใช้ประโยชน์ -เดือนเมษายน 2564 จำนวน 1740.50 ตัน - เดือนพฤษภาคม 2564 จำนวน 1835.00 ตัน - เดือนมิถุนายน 2564 จำนวน 1835.60 ตัน รวมจัดเก็บขยะนำกลับมาใช้ประโยชน์ จำนวน 5410.50 ตัน 2. ปริมาณมูลฝอยอินทรีย์ที่นำกลับมาใช้ประโยชน์ -เดือนเมษายน 2564 จำนวน 460.50 ตัน - เดือนพฤษภาคม 2564 จำนวน 427.80 ตัน - เดือนมิถุนายน 2564 จำนวน 427.80 ตัน รวมจัดเก็บมูลฝอยอินทรีย์ จำนวน 1316.10 ตัน
๑.๑ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย | |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :30.00 ผลงาน :24.91 |
-ดำเนินการตามโครงการต่างๆ เพื่อคัดแยกแยะที่แหล่งกำเนิด ประเภทเศษอาหาร เศษผักเปลือกผลไม้ วัชพืช 1.ปริมาณมูลฝอยที่นำกลับมาใช้ประโยชน์ -เดือนตุลาคม 2562 จำนวน 1599.83 ตัน - เดือนพฤศจิกายน 2563 จำนวน 1577.20 ตัน - เดือนธันวาคม 2563 จำนวน 1667.55 ตัน รวมจัดเก็บขยะนำกลับมาใช้ประโยชน์ จำนวน 4844.58 ตัน 2. ปริมาณมูลฝอยอินทรีย์ที่นำกลับมาใช้ประโยชน์ -เดือนตุลาคม 2562 จำนวน 439.70 ตัน - เดือนพฤศจิกายน 2563 จำนวน 423.70 ตัน - เดือนธันวาคม 2563 จำนวน 459.20 ตัน รวมจัดเก็บมูลฝอยอินทรีย์ จำนวน 1322.60 ตัน
-ดำเนินการตามโครงการต่างๆ เพื่อคัดแยกแยะที่แหล่งกำเนิด ประเภทเศษอาหาร เศษผักเปลือกผลไม้ วัชพืช 1.ปริมาณมูลฝอยที่นำกลับมาใช้ประโยชน์ -เดือนมกราคม 2564 จำนวน 1686 ตัน - เดือนกุมภาพันธ์ 2564 จำนวน 1706.50 ตัน - เดือนมีนาคม 2564 จำนวน 1735.60 ตัน รวมจัดเก็บขยะนำกลับมาใช้ประโยชน์ จำนวน 5128.90 ตัน 2. ปริมาณมูลฝอยอินทรีย์ที่นำกลับมาใช้ประโยชน์ -เดือนมกราคม 2564 จำนวน 445.20 ตัน - เดือนกุมภาพันธ์ 2564 จำนวน 461.20 ตัน - เดือนมีนาคม 2564 จำนวน 459 ตัน รวมจัดเก็บมูลฝอยอินทรีย์ จำนวน 1365.40 ตัน
-ดำเนินการตามโครงการต่างๆ เพื่อคัดแยกแยะที่แหล่งกำเนิด ประเภทเศษอาหาร เศษผักเปลือกผลไม้ วัชพืช 1.ปริมาณมูลฝอยที่นำกลับมาใช้ประโยชน์ -เดือนเมษายน 2564 จำนวน 1740.50 ตัน - เดือนพฤษภาคม 2564 จำนวน 1835.00 ตัน - เดือนมิถุนายน 2564 จำนวน 1835.60 ตัน รวมจัดเก็บขยะนำกลับมาใช้ประโยชน์ จำนวน 5410.50 ตัน 2. ปริมาณมูลฝอยอินทรีย์ที่นำกลับมาใช้ประโยชน์ -เดือนเมษายน 2564 จำนวน 460.50 ตัน - เดือนพฤษภาคม 2564 จำนวน 427.80 ตัน - เดือนมิถุนายน 2564 จำนวน 427.80 ตัน รวมจัดเก็บมูลฝอยอินทรีย์ จำนวน 1316.10 ตัน
๑.๔ - ปลอดภัยพิบัติ๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ | |
หน่วยนับ :ระดับ เป้าหมาย :5.00 ผลงาน :4.00 |
1.สำรวจและรวบรวมข้อมูลสภาพทั่วไปของคลอง 2.จัดทำแผนพัฒนาคลองเป้าหมายจำนวน 3 คลองได้แก่คลองแสนแสบ คลองสองต้นนุ่น คลองสามวา 1. ฝ่ายโยธา เขตมีนบุรี ร่วมกับสำนักการระบายน้ำลงพื้นที่ตรวจสภาพคลองในพื้นที่เขตมีนบุรี ดังนี้ 1.1 เมื่อวันที่ 16 พ.ย.2563 ตรวจสภาพคลองสองต้นนุ่น และคลองสามวา 1.2 เมื่อวันที่ 13 พ.ย.63 ตรวจสภาพคลองแสนแสบ 2. จัดทำโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์คลองสายหลักในพื้นที่ แบบสรุปผลสำรวจพื้นที่คลองแสนแสบ คลองสองต้นนุ่น คลองสามวา พร้อมทั้งรายละเอียด ปัญหาอุปสรรค และภาพถ่ายของพื้นที่มีปัญหา ส่งสำนักการระบายน้ำภายในวันที่ 21 ธันวาคม 2563 3. ดำเนินกิจกรรมตามโครงการปฏิบัติการการปรับปรุง ภูมิทัศน์คลอง ดังนี้ 3.1 รณรงค์ให้ประชาชนดูแลรักษาแหล่งน้ำไม่ให้ทิ้งขยะและของเสียลงคลองผ่านช่องทางการประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ 3.2 ล้างทำความสะอาดเขื่อน ทางเท้าริมคลอง ทุกวันพุธในคลองแสนแสบ และล้างผนังเขื่อนที่ดำสกปรกโดยใช้น้ำปูน ตั้งแต่เดือนตุลาคม –ธันวาคม 2563 ได้ระยะทาง 6,300 เมตร 3.3 ตรวจตราไฟฟ้าส่องสว่างริมคลองให้พร้อมใช้งาน โดยพบไฟฟ้าชำรุด ณ คลองแสนแสบ คลองสองต้นนุ่นและคลองสามวา ไม่มีไฟฟ้าสองสว่างชำรุด 3.4 ตรวจราวกันตก ทางเท้าริมคลอง โดยดำเนินการ ซ่อมแซมทางเท้าริมคลองสามวา - วันที่ 17 ตุลาคม 2563 ระยะทาง 9 เมตร - วันที่ 30 ธันวาคม 2563 ระยะทาง 12 เมตร ซ่อมแซมทางเท้าริมคลองสองต้นนุ่น - วันที่ 11 มกราคม 2564 ระยะทาง 9 เมตร รวมระยะทาง 36 เมตร 3.5 ตรวจความเป็นระเบียบเรียบร้อยของท่าเรือ สะพานเดินข้ามคลอง พบสะพานเดินข้ามคลองชำรุด 3 แห่ง คือ - สะพาน ค.ส.ล. คนเดินข้ามคลองสองต้นนุ่น โดยซ่อมแซมเชิงลาดของสะพานโดยใช้แอสฟัลต์เย็น เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2563 3.6 สร้างจุดเช็คอิน Check in บริเวณริมคลองจำนวน 3 จุด - คลองแสนแสบ บริเวณสวนเฉลิมพระเกียรติ ร9 ถนนสีหบุรานุกิจ อยู่ระหว่างดำเนินการ - คลองสองต้นนุ่น บริเวณสะพาน ค.ส.ล. ข้ามคลองสองต้นนุ่น หน้าโรงรียนคลองสองต้นนุ่น ซอยร่มเกล้า 6 ถนนร่มเกล้า - คลองสามวา บริเวณสะพาน ค.ส.ล. คนเดินข้ามคลองสามวา หลังตลาดเก่ามีนบุรี
1.สำรวจและรวบรวมข้อมูลสภาพทั่วไปของคลอง 2.จัดทำแผนพัฒนาคลองเป้าหมายจำนวน 3 คลองได้แก่คลองแสนแสบ คลองสองต้นนุ่น คลองสามวา 3. ความสำเร็จของคลองในพื้นที่ กทม. ได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่ ดังนี้ 1. ฝ่ายโยธา เขตมีนบุรี ร่วมกับสำนักการระบายน้ำลงพื้นที่ตรวจสภาพคลองในพื้นที่เขตมีนบุรี ดังนี้ 1.1 เมื่อวันที่ 16 พ.ย.2563 ตรวจสภาพคลองสองต้นนุ่น และคลองสามวา 1.2 เมื่อวันที่ 13 พ.ย.63 ตรวจสภาพคลองแสนแสบ 2. จัดทำโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์คลองสายหลักในพื้นที่ แบบสรุปผลสำรวจพื้นที่คลองแสนแสบ คลองสองต้นนุ่น คลองสามวา พร้อมทั้งรายละเอียด ปัญหาอุปสรรค และภาพถ่ายของพื้นที่มีปัญหา ส่งสำนักการระบายน้ำภายในวันที่ 21 ธันวาคม 2563 3. ดำเนินกิจกรรมตามโครงการปฏิบัติการการปรับปรุง ภูมิทัศน์คลอง ดังนี้ 3.1 รณรงค์ให้ประชาชนดูแลรักษาแหล่งน้ำไม่ให้ทิ้งขยะและของเสียลงคลองผ่านช่องทางการประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ 3.2 เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2564 จัดกิจกรรมจิตอาสาพัฒนาพื้นที่ และ.ประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้ประชาชนในพื้นที่ภาคเอกชน เข้ามามีส่วนร่วมในการปรับปรุงภูมิทัศน์คลองสองต้นนุ่น 3.3 ปรับปรุงภูมิทัศน์ โดยตัดแต่งกิ่งไม้ ตกแต่งไม้ดอกไม้ประดับ เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2564 ในคลองสองต้นนุ่นและทุกวันพุธในคลองแสนแสบ 3.4 ล้างทำความสะอาดเขื่อน ทางเท้าริมคลอง ทุกวันพุธในคลองแสนแสบ และล้างผนังเขื่อนที่ดำสกปรกโดยใช้น้ำปูน ตั้งแต่เดือนตุลาคม –ธันวาคม 2563 ได้ระยะทาง 6,300 เมตร 3.5 ตรวจตราไฟฟ้าส่องสว่างริมคลองให้พร้อมใช้งาน โดยพบไฟฟ้าชำรุด ณ คลองแสนแสบ คลองสองต้นนุ่นและคลองสามวา ไม่มีไฟฟ้าสองสว่างชำรุด 3.6 ตรวจราวกันตก ทางเท้าริมคลอง โดยดำเนินการ ซ่อมแซมทางเท้าริมคลองสามวา - วันที่ 17 ตุลาคม 2563 ระยะทาง 9 เมตร - วันที่ 30 ธันวาคม 2563 ระยะทาง 12 เมตร - วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2564 ระยะทาง 6 เมตร ซ่อมแซมทางเท้าริมคลองสองต้นนุ่น - วันที่ 11 มกราคม 2564 ระยะทาง 9 เมตร รวมระยะทาง 36 เมตร 3.7 ตรวจความเป็นระเบียบเรียบร้อยของท่าเรือ สะพานเดินข้ามคลอง พบสะพานเดินข้ามคลองชำรุด 3 แห่ง คือ - สะพาน ค.ส.ล. คนเดินข้ามคลองสองต้นนุ่น โดยซ่อมแซมเชิงลาดของสะพานโดยใช้แอสฟัลต์เย็น เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2563 - สะพาน ค.ส.ล. ข้ามคลองสองต้นนุ่น ซ่อมเสาราวสะพานโดยใช้คอนกรีต เมื่อวันที่ 12 มกราคม 2564 - สะพาน ค.ส.ล. คนเดินข้ามคลองสองต้นนุ่น โดยซ่อมแซมเชิงลาดของสะพานโดยใช้แอสฟัลต์เย็น เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2564 3.8 สร้างจุดเช็คอิน Check in บริเวณริมคลองจำนวน 3 จุด - คลองแสนแสบ บริเวณสวนเฉลิมพระเกียรติ ร9 ถนนสีหบุรานุกิจ อยู่ระหว่างดำเนินการ - คลองสองต้นนุ่น บริเวณสะพาน ค.ส.ล. ข้ามคลองสองต้นนุ่น หน้าโรงรียนคลองสองต้นนุ่น ซอยร่มเกล้า 6 ถนนร่มเกล้า - คลองสามวา บริเวณสะพาน ค.ส.ล. คนเดินข้ามคลองสามวา หลังตลาดเก่ามีนบุรี
1.สำรวจและรวบรวมข้อมูลสภาพทั่วไปของคลอง 2.จัดทำแผนพัฒนาคลองเป้าหมายจำนวน 3 คลองได้แก่คลองแสนแสบ คลองสองต้นนุ่น คลองสามวา 3. ความสำเร็จของคลองในพื้นที่ กทม. ได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่ ดังนี้ 1. ฝ่ายโยธา เขตมีนบุรี ร่วมกับสำนักการระบายน้ำลงพื้นที่ตรวจสภาพคลองในพื้นที่เขตมีนบุรี ดังนี้ 1.1 เมื่อวันที่ 16 พ.ย.2563 ตรวจสภาพคลองสองต้นนุ่น และคลองสามวา 1.2 เมื่อวันที่ 13 พ.ย.63 ตรวจสภาพคลองแสนแสบ 2. จัดทำโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์คลองสายหลักในพื้นที่ แบบสรุปผลสำรวจพื้นที่คลองแสนแสบ คลองสองต้นนุ่น คลองสามวา พร้อมทั้งรายละเอียด ปัญหาอุปสรรค และภาพถ่ายของพื้นที่มีปัญหา ส่งสำนักการระบายน้ำภายในวันที่ 21 ธันวาคม 2563 3. ดำเนินกิจกรรมตามโครงการปฏิบัติการการปรับปรุง ภูมิทัศน์คลอง ดังนี้ 3.1 รณรงค์ให้ประชาชนดูแลรักษาแหล่งน้ำไม่ให้ทิ้งขยะและของเสียลงคลองผ่านช่องทางการประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ 3.2 เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2564 จัดกิจกรรมจิตอาสาพัฒนาพื้นที่ และ.ประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้ประชาชนในพื้นที่ภาคเอกชน เข้ามามีส่วนร่วมในการปรับปรุงภูมิทัศน์คลองสองต้นนุ่น 3.3 ปรับปรุงภูมิทัศน์ โดยตัดแต่งกิ่งไม้ ตกแต่งไม้ดอกไม้ประดับ เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2564 ในคลองสองต้นนุ่นและทุกวันพุธในคลองแสนแสบ 3.4 ล้างทำความสะอาดเขื่อน ทางเท้าริมคลอง ทุกวันพุธในคลองแสนแสบ และล้างผนังเขื่อนที่ดำสกปรกโดยใช้น้ำปูน ตั้งแต่เดือนตุลาคม –ธันวาคม 2563 ได้ระยะทาง 6,300 เมตร 3.5 ตรวจตราไฟฟ้าส่องสว่างริมคลองให้พร้อมใช้งาน โดยพบไฟฟ้าชำรุด ณ คลองแสนแสบ คลองสองต้นนุ่นและคลองสามวา ไม่มีไฟฟ้าสองสว่างชำรุด 3.6 ตรวจราวกันตก ทางเท้าริมคลอง โดยดำเนินการ ซ่อมแซมทางเท้าริมคลองสามวา - วันที่ 17 ตุลาคม 2563 ระยะทาง 9 เมตร - วันที่ 30 ธันวาคม 2563 ระยะทาง 12 เมตร - วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2564 ระยะทาง 6 เมตร ซ่อมแซมทางเท้าริมคลองสองต้นนุ่น - วันที่ 11 มกราคม 2564 ระยะทาง 9 เมตร รวมระยะทาง 36 เมตร 3.7 ตรวจความเป็นระเบียบเรียบร้อยของท่าเรือ สะพานเดินข้ามคลอง พบสะพานเดินข้ามคลองชำรุด 3 แห่ง คือ - สะพาน ค.ส.ล. คนเดินข้ามคลองสองต้นนุ่น โดยซ่อมแซมเชิงลาดของสะพานโดยใช้แอสฟัลต์เย็น เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2563 - สะพาน ค.ส.ล. ข้ามคลองสองต้นนุ่น ซ่อมเสาราวสะพานโดยใช้คอนกรีต เมื่อวันที่ 12 มกราคม 2564 - สะพาน ค.ส.ล. คนเดินข้ามคลองสองต้นนุ่น โดยซ่อมแซมเชิงลาดของสะพานโดยใช้แอสฟัลต์เย็น เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2564 3.8 สร้างจุดเช็คอิน Check in บริเวณริมคลองจำนวน 3 จุด - คลองแสนแสบ บริเวณสวนเฉลิมพระเกียรติ ร9 ถนนสีหบุรานุกิจ อยู่ระหว่างดำเนินการ - คลองสองต้นนุ่น บริเวณสะพาน ค.ส.ล. ข้ามคลองสองต้นนุ่น หน้าโรงรียนคลองสองต้นนุ่น ซอยร่มเกล้า 6 ถนนร่มเกล้า - คลองสามวา บริเวณสะพาน ค.ส.ล. คนเดินข้ามคลองสามวา หลังตลาดเก่ามีนบุรี
1.สำรวจและรวบรวมข้อมูลสภาพทั่วไปของคลอง 2.จัดทำแผนพัฒนาคลองเป้าหมายจำนวน 3 คลองได้แก่คลองแสนแสบ คลองสองต้นนุ่น คลองสามวา 3. ความสำเร็จของคลองในพื้นที่ กทม. ได้รับการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สอดคล้องกับเอกลักษณ์ของแต่ละพื้นที่ ดังนี้ 1. ฝ่ายโยธา เขตมีนบุรี ร่วมกับสำนักการระบายน้ำลงพื้นที่ตรวจสภาพคลองในพื้นที่เขตมีนบุรี ดังนี้ 1.1 เมื่อวันที่ 16 พ.ย.2563 ตรวจสภาพคลองสองต้นนุ่น และคลองสามวา 1.2 เมื่อวันที่ 13 พ.ย.63 ตรวจสภาพคลองแสนแสบ 2. จัดทำโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์คลองสายหลักในพื้นที่ แบบสรุปผลสำรวจพื้นที่คลองแสนแสบ คลองสองต้นนุ่น คลองสามวา พร้อมทั้งรายละเอียด ปัญหาอุปสรรค และภาพถ่ายของพื้นที่มีปัญหา ส่งสำนักการระบายน้ำภายในวันที่ 21 ธันวาคม 2563 3. ดำเนินกิจกรรมตามโครงการปฏิบัติการการปรับปรุง ภูมิทัศน์คลอง ดังนี้ 3.1 รณรงค์ให้ประชาชนดูแลรักษาแหล่งน้ำไม่ให้ทิ้งขยะและของเสียลงคลองผ่านช่องทางการประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ 3.2 เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2564 จัดกิจกรรมจิตอาสาพัฒนาพื้นที่ และ.ประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้ประชาชนในพื้นที่ภาคเอกชน เข้ามามีส่วนร่วมในการปรับปรุงภูมิทัศน์คลองสองต้นนุ่น 3.3 ปรับปรุงภูมิทัศน์ โดยตัดแต่งกิ่งไม้ ตกแต่งไม้ดอกไม้ประดับ เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2564 ในคลองสองต้นนุ่นและทุกวันพุธในคลองแสนแสบ 3.4 ล้างทำความสะอาดเขื่อน ทางเท้าริมคลอง ทุกวันพุธในคลองแสนแสบ และล้างผนังเขื่อนที่ดำสกปรกโดยใช้น้ำปูน ตั้งแต่เดือนตุลาคม –ธันวาคม 2563 ได้ระยะทาง 6,300 เมตร 3.5 ตรวจตราไฟฟ้าส่องสว่างริมคลองให้พร้อมใช้งาน โดยพบไฟฟ้าชำรุด ณ คลองแสนแสบ คลองสองต้นนุ่นและคลองสามวา ไม่มีไฟฟ้าสองสว่างชำรุด 3.6 ตรวจราวกันตก ทางเท้าริมคลอง โดยดำเนินการ ซ่อมแซมทางเท้าริมคลองสามวา - วันที่ 17 ตุลาคม 2563 ระยะทาง 9 เมตร - วันที่ 30 ธันวาคม 2563 ระยะทาง 12 เมตร - วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2564 ระยะทาง 6 เมตร ซ่อมแซมทางเท้าริมคลองสองต้นนุ่น - วันที่ 11 มกราคม 2564 ระยะทาง 9 เมตร รวมระยะทาง 36 เมตร 3.7 ตรวจความเป็นระเบียบเรียบร้อยของท่าเรือ สะพานเดินข้ามคลอง พบสะพานเดินข้ามคลองชำรุด 3 แห่ง คือ - สะพาน ค.ส.ล. คนเดินข้ามคลองสองต้นนุ่น โดยซ่อมแซมเชิงลาดของสะพานโดยใช้แอสฟัลต์เย็น เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2563 - สะพาน ค.ส.ล. ข้ามคลองสองต้นนุ่น ซ่อมเสาราวสะพานโดยใช้คอนกรีต เมื่อวันที่ 12 มกราคม 2564 - สะพาน ค.ส.ล. คนเดินข้ามคลองสองต้นนุ่น โดยซ่อมแซมเชิงลาดของสะพานโดยใช้แอสฟัลต์เย็น เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2564 3.8 สร้างจุดเช็คอิน Check in บริเวณริมคลองจำนวน 3 จุด - คลองแสนแสบ บริเวณสวนเฉลิมพระเกียรติ ร9 ถนนสีหบุรานุกิจ อยู่ระหว่างดำเนินการ - คลองสองต้นนุ่น บริเวณสะพาน ค.ส.ล. ข้ามคลองสองต้นนุ่น หน้าโรงรียนคลองสองต้นนุ่น ซอยร่มเกล้า 6 ถนนร่มเกล้า - คลองสามวา บริเวณสะพาน ค.ส.ล. คนเดินข้ามคลองสามวา หลังตลาดเก่ามีนบุรี