มิติที่ 4 ด้านคุณภาพการปฏิบัติราชการ
(1)
4 ความสำเร็จในการเสนอนวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน ( องค์ประกอบ 4 )
[มิติที่ 4 :
ตัวชี้วัดเจรจา]
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
|
|
หน่วยนับ :คะแนน
เป้าหมาย :10.00
ผลงาน :10.00
|
ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
100 / 100
100 / 100
100 / 100
100 / 100
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1
อยู่ระหว่างดำเนินการคัดเลือกนวัตกรรมของหน่วยงาน
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2
อยู่ระหว่างดำเนินการพัฒนานวัตกรรมของหน่วยงาน " Qr code เส้นทางการให้บริการเก็บขนมูลฝอย สำนักงานเขตวังทองหลาง "
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3
จัดทำนวัตกรรมของหน่วยงานแล้วเสร็จและดำเนินการประชาสัมพันธ์ นวัตกรรมของหน่วยงาน " Qr code เส้นทางการให้บริการเก็บขนมูลฝอย สำนักงานเขตวังทองหลาง " ให้ประชาชนที่พักอาศัยในพื้นที่ได้รับทราบ เพื่อให้ประชาชนได้ใช้งาน โดยประชาสัมพันธ์แบบลงพื้นที่ จำนวน 850 หลังคาเรือน จาก 1500 หลังคาเรือน
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4
ดำเนินการจัดทำสรุปผลการนำนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ (ขั้นตอนที่ 5) ให้สำนักงาน ก.ก. เรียบร้อยแล้ว รวมถึงรายงานให้ผู้อำนวยการเขตรับทราบ โดยเรื่องร้องเรียนขยะคงค้างหลังจากที่นำนวัตกรรมไปใช้มีจำนวนลดลง โดยเดือน มี.ค. 64 มีจำนวน 8 เรื่อง เดือนเม.ย. มีจำนวน 9 เรื่อง และเดือน พ.ค. 64 มีจำนวน 4 เรื่อง โดยในเดือน มิ.ย.64 - ส.ค.64 มีเรื่องร้องเรียนจำนวน 24 เรื่อง (สถานการณ์โควิด) แต่ปริมาณการร้องเรียนลดลงจากช่วงเวลาเดียวกันของปีที่แล้ว ซึ่งเฉลี่ยเดือนละ 10 เรื่อง
โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด
-
(1) กิจกรรมความสำเร็จในการเสนอนวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน (องค์ประกอบ 4)
แล้วเสร็จ (100.00% ) เป็นไปตามแผน : เป็นไปตามเป้าหมาย
: 21/09/2564 :
1. ขั้นตอน/กระบวนการ ก่อนการปรับปรุง/พัฒนา ว่าเป็นอย่างไร
- ประชาชนไม่ทราบเวลาเข้าดำเนินการที่แน่นอนของรถที่เข้าดำเนินการจัดเก็บภายในพื้นที่ของตน จึงทำ
ให้เกิดความเข้าใจคลาดเคลื่อนในการจัดการขยะก่อนนำออกมาทิ้ง
- ประชาชนเข้ามาติดต่อเหตุร้องเรียนด้วยตนเองหรือโทรเข้ามาแจ้งเหตุที่ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ เพื่อ
แจ้งเหตุ, นัดแนะวัน-เวลาเพื่อให้เจ้าหน้าที่เข้าดำเนินการจัดเก็บ อาจทำให้เกิดความล่าช้าในการ
ดำเนินการ
2. ขั้นตอน/กระบวนการ หลังการปรับปรุง/พัฒนา รวมถึงอธิบายวิธีการนำไปปฏิบัติ ว่ามีกระบวนการหรือ
ขั้นตอนอย่างไร
- จัดเจ้าหน้าที่นำแจกประกาศประชาสัมพันธ์มี QR Code เส้นทางการเดินรถและวัน เวลาเก็บขนมูลฝอย
ของแต่ละถนน, ตรอก, ซอย ในพื้นที่เขตวังทองหลางให้กับผู้รับบริการ, นิติบุคคล, ผู้นำชุมชน, หมู่บ้าน
เพื่อแจ้งให้ผู้ที่ต้องการทราบอย่างทั่วถึง
3. มีกลุ่มผู้ใช้บริการ (ประชาชน /ผู้รับบริการ) เข้ามาเกี่ยวข้องในแต่ละขั้นตอนใดบ้าง อย่างไร
- ประชาชน/ผู้รับบริการ จะเข้ามาเกี่ยวข้องในขั้นตอนสุดท้ายเนื่องจากเป็นผู้รับบริการโดยตรง โดย
ประชาชนที่สนใจจะสามารถสแกน QR Code เพื่อตรวจสอบเส้นทางเดินรถเก็บขน วันและเวลาที่แน่นอน
ในการเข้าดำเนินการจัดเก็บขยะภายในพื้นที่ตนเองได้โดยตรง ทำให้สามารถบริหารจัดการขยะภายใน
ครัวเรือนของตนเองและนำมาทิ้งเพื่อให้เจ้าหน้าที่จัดเก็บได้อย่างถูกต้อง, ตรงเวลา และลดปัญหาขยะ
ตกค้างได้อีกทางหนึ่ง
4. ตัวชี้วัดที่วัดความสำเร็จของโครงการมีอะไรบ้าง ผลผลิตและผลลัพธ์ที่ได้จากการดำเนินโครงการคืออะไร
- มี QR Code เส้นทางการให้บริการเก็บขนมูลฝอย สำนักงานเขตวังทองหลาง โดยมีการกำหนดวัน เวลาที่
แน่นอนในการทิ้งขยะไว้ใน QR Code ด้วย จำนวน 4 QR Code (แยกตามแขวง)
- แจกประกาศประชาสัมพันธ์ให้กับผู้รับบริการ, นิติบุคคล, ผู้นำชุมชน, หมู่บ้าน ภายในพื้นที่เขต
วังทองหลาง จำนวน 1,300 แผ่น จากเป้า 1500 แผ่น (ข้อมูล ณ เดือน สิงหาคม 2564)
5. ประโยชน์ที่ประชาชน/ผู้รับบริการได้รับจากโครงการ มีอะไรบ้าง
- ประชาชน/ผู้รับบริการ ที่ต้องการทราบข้อมูลจะสามารถสแกน QR Code เส้นทางการเดินรถ และวัน
เวลาเก็บขนมูลฝอยของแต่ละถนน, ตรอก, ซอย ที่จะเข้าให้บริการในพื้นที่เขตวังทองหลาง
- ลดข้อร้องเรียนและลดความเข้าใจที่ผิดพลาดในการเข้าดำเนินการเก็บขนมูลฝอย และป้องกันการลักลอบ
ทิ้งขยะไม่ตรงเวลาหรือขยะตกค้างได้
-
Print
(2)
4 ความสำเร็จในการเสนอนวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน ( องค์ประกอบ 4 )
[มิติที่ 4 :
ตัวชี้วัดเจรจา]
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
|
|
หน่วยนับ :คะแนน
เป้าหมาย :10.00
ผลงาน :10.00
|
ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
100 / 100
100 / 100
100 / 100
100 / 100
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1
อยู่ระหว่างดำเนินการคัดเลือกนวัตกรรมของหน่วยงาน
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2
อยู่ระหว่างดำเนินการพัฒนานวัตกรรมของหน่วยงาน " Qr code เส้นทางการให้บริการเก็บขนมูลฝอย สำนักงานเขตวังทองหลาง "
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3
จัดทำนวัตกรรมของหน่วยงานแล้วเสร็จและดำเนินการประชาสัมพันธ์ นวัตกรรมของหน่วยงาน " Qr code เส้นทางการให้บริการเก็บขนมูลฝอย สำนักงานเขตวังทองหลาง " ให้ประชาชนที่พักอาศัยในพื้นที่ได้รับทราบ เพื่อให้ประชาชนได้ใช้งาน โดยประชาสัมพันธ์แบบลงพื้นที่ จำนวน 850 หลังคาเรือน จาก 1500 หลังคาเรือน
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4
ดำเนินการจัดทำสรุปผลการนำนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ (ขั้นตอนที่ 5) ให้สำนักงาน ก.ก. เรียบร้อยแล้ว รวมถึงรายงานให้ผู้อำนวยการเขตรับทราบ โดยเรื่องร้องเรียนขยะคงค้างหลังจากที่นำนวัตกรรมไปใช้มีจำนวนลดลง โดยเดือน มี.ค. 64 มีจำนวน 8 เรื่อง เดือนเม.ย. มีจำนวน 9 เรื่อง และเดือน พ.ค. 64 มีจำนวน 4 เรื่อง โดยในเดือน มิ.ย.64 - ส.ค.64 มีเรื่องร้องเรียนจำนวน 24 เรื่อง (สถานการณ์โควิด) แต่ปริมาณการร้องเรียนลดลงจากช่วงเวลาเดียวกันของปีที่แล้ว ซึ่งเฉลี่ยเดือนละ 10 เรื่อง
โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด
-
(1) กิจกรรมความสำเร็จในการเสนอนวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน (องค์ประกอบ 4)
แล้วเสร็จ (100.00% ) เป็นไปตามแผน : เป็นไปตามเป้าหมาย
: 21/09/2564 :
1. ขั้นตอน/กระบวนการ ก่อนการปรับปรุง/พัฒนา ว่าเป็นอย่างไร
- ประชาชนไม่ทราบเวลาเข้าดำเนินการที่แน่นอนของรถที่เข้าดำเนินการจัดเก็บภายในพื้นที่ของตน จึงทำ
ให้เกิดความเข้าใจคลาดเคลื่อนในการจัดการขยะก่อนนำออกมาทิ้ง
- ประชาชนเข้ามาติดต่อเหตุร้องเรียนด้วยตนเองหรือโทรเข้ามาแจ้งเหตุที่ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ เพื่อ
แจ้งเหตุ, นัดแนะวัน-เวลาเพื่อให้เจ้าหน้าที่เข้าดำเนินการจัดเก็บ อาจทำให้เกิดความล่าช้าในการ
ดำเนินการ
2. ขั้นตอน/กระบวนการ หลังการปรับปรุง/พัฒนา รวมถึงอธิบายวิธีการนำไปปฏิบัติ ว่ามีกระบวนการหรือ
ขั้นตอนอย่างไร
- จัดเจ้าหน้าที่นำแจกประกาศประชาสัมพันธ์มี QR Code เส้นทางการเดินรถและวัน เวลาเก็บขนมูลฝอย
ของแต่ละถนน, ตรอก, ซอย ในพื้นที่เขตวังทองหลางให้กับผู้รับบริการ, นิติบุคคล, ผู้นำชุมชน, หมู่บ้าน
เพื่อแจ้งให้ผู้ที่ต้องการทราบอย่างทั่วถึง
3. มีกลุ่มผู้ใช้บริการ (ประชาชน /ผู้รับบริการ) เข้ามาเกี่ยวข้องในแต่ละขั้นตอนใดบ้าง อย่างไร
- ประชาชน/ผู้รับบริการ จะเข้ามาเกี่ยวข้องในขั้นตอนสุดท้ายเนื่องจากเป็นผู้รับบริการโดยตรง โดย
ประชาชนที่สนใจจะสามารถสแกน QR Code เพื่อตรวจสอบเส้นทางเดินรถเก็บขน วันและเวลาที่แน่นอน
ในการเข้าดำเนินการจัดเก็บขยะภายในพื้นที่ตนเองได้โดยตรง ทำให้สามารถบริหารจัดการขยะภายใน
ครัวเรือนของตนเองและนำมาทิ้งเพื่อให้เจ้าหน้าที่จัดเก็บได้อย่างถูกต้อง, ตรงเวลา และลดปัญหาขยะ
ตกค้างได้อีกทางหนึ่ง
4. ตัวชี้วัดที่วัดความสำเร็จของโครงการมีอะไรบ้าง ผลผลิตและผลลัพธ์ที่ได้จากการดำเนินโครงการคืออะไร
- มี QR Code เส้นทางการให้บริการเก็บขนมูลฝอย สำนักงานเขตวังทองหลาง โดยมีการกำหนดวัน เวลาที่
แน่นอนในการทิ้งขยะไว้ใน QR Code ด้วย จำนวน 4 QR Code (แยกตามแขวง)
- แจกประกาศประชาสัมพันธ์ให้กับผู้รับบริการ, นิติบุคคล, ผู้นำชุมชน, หมู่บ้าน ภายในพื้นที่เขต
วังทองหลาง จำนวน 1,300 แผ่น จากเป้า 1500 แผ่น (ข้อมูล ณ เดือน สิงหาคม 2564)
5. ประโยชน์ที่ประชาชน/ผู้รับบริการได้รับจากโครงการ มีอะไรบ้าง
- ประชาชน/ผู้รับบริการ ที่ต้องการทราบข้อมูลจะสามารถสแกน QR Code เส้นทางการเดินรถ และวัน
เวลาเก็บขนมูลฝอยของแต่ละถนน, ตรอก, ซอย ที่จะเข้าให้บริการในพื้นที่เขตวังทองหลาง
- ลดข้อร้องเรียนและลดความเข้าใจที่ผิดพลาดในการเข้าดำเนินการเก็บขนมูลฝอย และป้องกันการลักลอบ
ทิ้งขยะไม่ตรงเวลาหรือขยะตกค้างได้
-
Print
(3)
4 ความสำเร็จในการเสนอนวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน ( องค์ประกอบ 4 )
[มิติที่ 4 :
ตัวชี้วัดเจรจา]
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
|
|
หน่วยนับ :คะแนน
เป้าหมาย :10.00
ผลงาน :10.00
|
ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
100 / 100
100 / 100
100 / 100
100 / 100
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1
อยู่ระหว่างดำเนินการคัดเลือกนวัตกรรมของหน่วยงาน
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2
อยู่ระหว่างดำเนินการพัฒนานวัตกรรมของหน่วยงาน " Qr code เส้นทางการให้บริการเก็บขนมูลฝอย สำนักงานเขตวังทองหลาง "
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3
จัดทำนวัตกรรมของหน่วยงานแล้วเสร็จและดำเนินการประชาสัมพันธ์ นวัตกรรมของหน่วยงาน " Qr code เส้นทางการให้บริการเก็บขนมูลฝอย สำนักงานเขตวังทองหลาง " ให้ประชาชนที่พักอาศัยในพื้นที่ได้รับทราบ เพื่อให้ประชาชนได้ใช้งาน โดยประชาสัมพันธ์แบบลงพื้นที่ จำนวน 850 หลังคาเรือน จาก 1500 หลังคาเรือน
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4
ดำเนินการจัดทำสรุปผลการนำนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ (ขั้นตอนที่ 5) ให้สำนักงาน ก.ก. เรียบร้อยแล้ว รวมถึงรายงานให้ผู้อำนวยการเขตรับทราบ โดยเรื่องร้องเรียนขยะคงค้างหลังจากที่นำนวัตกรรมไปใช้มีจำนวนลดลง โดยเดือน มี.ค. 64 มีจำนวน 8 เรื่อง เดือนเม.ย. มีจำนวน 9 เรื่อง และเดือน พ.ค. 64 มีจำนวน 4 เรื่อง โดยในเดือน มิ.ย.64 - ส.ค.64 มีเรื่องร้องเรียนจำนวน 24 เรื่อง (สถานการณ์โควิด) แต่ปริมาณการร้องเรียนลดลงจากช่วงเวลาเดียวกันของปีที่แล้ว ซึ่งเฉลี่ยเดือนละ 10 เรื่อง
โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด
-
(1) กิจกรรมความสำเร็จในการเสนอนวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน (องค์ประกอบ 4)
แล้วเสร็จ (100.00% ) เป็นไปตามแผน : เป็นไปตามเป้าหมาย
: 21/09/2564 :
1. ขั้นตอน/กระบวนการ ก่อนการปรับปรุง/พัฒนา ว่าเป็นอย่างไร
- ประชาชนไม่ทราบเวลาเข้าดำเนินการที่แน่นอนของรถที่เข้าดำเนินการจัดเก็บภายในพื้นที่ของตน จึงทำ
ให้เกิดความเข้าใจคลาดเคลื่อนในการจัดการขยะก่อนนำออกมาทิ้ง
- ประชาชนเข้ามาติดต่อเหตุร้องเรียนด้วยตนเองหรือโทรเข้ามาแจ้งเหตุที่ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ เพื่อ
แจ้งเหตุ, นัดแนะวัน-เวลาเพื่อให้เจ้าหน้าที่เข้าดำเนินการจัดเก็บ อาจทำให้เกิดความล่าช้าในการ
ดำเนินการ
2. ขั้นตอน/กระบวนการ หลังการปรับปรุง/พัฒนา รวมถึงอธิบายวิธีการนำไปปฏิบัติ ว่ามีกระบวนการหรือ
ขั้นตอนอย่างไร
- จัดเจ้าหน้าที่นำแจกประกาศประชาสัมพันธ์มี QR Code เส้นทางการเดินรถและวัน เวลาเก็บขนมูลฝอย
ของแต่ละถนน, ตรอก, ซอย ในพื้นที่เขตวังทองหลางให้กับผู้รับบริการ, นิติบุคคล, ผู้นำชุมชน, หมู่บ้าน
เพื่อแจ้งให้ผู้ที่ต้องการทราบอย่างทั่วถึง
3. มีกลุ่มผู้ใช้บริการ (ประชาชน /ผู้รับบริการ) เข้ามาเกี่ยวข้องในแต่ละขั้นตอนใดบ้าง อย่างไร
- ประชาชน/ผู้รับบริการ จะเข้ามาเกี่ยวข้องในขั้นตอนสุดท้ายเนื่องจากเป็นผู้รับบริการโดยตรง โดย
ประชาชนที่สนใจจะสามารถสแกน QR Code เพื่อตรวจสอบเส้นทางเดินรถเก็บขน วันและเวลาที่แน่นอน
ในการเข้าดำเนินการจัดเก็บขยะภายในพื้นที่ตนเองได้โดยตรง ทำให้สามารถบริหารจัดการขยะภายใน
ครัวเรือนของตนเองและนำมาทิ้งเพื่อให้เจ้าหน้าที่จัดเก็บได้อย่างถูกต้อง, ตรงเวลา และลดปัญหาขยะ
ตกค้างได้อีกทางหนึ่ง
4. ตัวชี้วัดที่วัดความสำเร็จของโครงการมีอะไรบ้าง ผลผลิตและผลลัพธ์ที่ได้จากการดำเนินโครงการคืออะไร
- มี QR Code เส้นทางการให้บริการเก็บขนมูลฝอย สำนักงานเขตวังทองหลาง โดยมีการกำหนดวัน เวลาที่
แน่นอนในการทิ้งขยะไว้ใน QR Code ด้วย จำนวน 4 QR Code (แยกตามแขวง)
- แจกประกาศประชาสัมพันธ์ให้กับผู้รับบริการ, นิติบุคคล, ผู้นำชุมชน, หมู่บ้าน ภายในพื้นที่เขต
วังทองหลาง จำนวน 1,300 แผ่น จากเป้า 1500 แผ่น (ข้อมูล ณ เดือน สิงหาคม 2564)
5. ประโยชน์ที่ประชาชน/ผู้รับบริการได้รับจากโครงการ มีอะไรบ้าง
- ประชาชน/ผู้รับบริการ ที่ต้องการทราบข้อมูลจะสามารถสแกน QR Code เส้นทางการเดินรถ และวัน
เวลาเก็บขนมูลฝอยของแต่ละถนน, ตรอก, ซอย ที่จะเข้าให้บริการในพื้นที่เขตวังทองหลาง
- ลดข้อร้องเรียนและลดความเข้าใจที่ผิดพลาดในการเข้าดำเนินการเก็บขนมูลฝอย และป้องกันการลักลอบ
ทิ้งขยะไม่ตรงเวลาหรือขยะตกค้างได้
-
Print
(4)
4 ความสำเร็จในการเสนอนวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน ( องค์ประกอบ 4 )
[มิติที่ 4 :
ตัวชี้วัดเจรจา]
**** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน **** **** ภารกิจงานประจำของหน่วยงาน ****
|
|
หน่วยนับ :คะแนน
เป้าหมาย :10.00
ผลงาน :10.00
|
ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
100 / 100
100 / 100
100 / 100
100 / 100
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1
อยู่ระหว่างดำเนินการคัดเลือกนวัตกรรมของหน่วยงาน
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2
อยู่ระหว่างดำเนินการพัฒนานวัตกรรมของหน่วยงาน " Qr code เส้นทางการให้บริการเก็บขนมูลฝอย สำนักงานเขตวังทองหลาง "
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3
จัดทำนวัตกรรมของหน่วยงานแล้วเสร็จและดำเนินการประชาสัมพันธ์ นวัตกรรมของหน่วยงาน " Qr code เส้นทางการให้บริการเก็บขนมูลฝอย สำนักงานเขตวังทองหลาง " ให้ประชาชนที่พักอาศัยในพื้นที่ได้รับทราบ เพื่อให้ประชาชนได้ใช้งาน โดยประชาสัมพันธ์แบบลงพื้นที่ จำนวน 850 หลังคาเรือน จาก 1500 หลังคาเรือน
รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4
ดำเนินการจัดทำสรุปผลการนำนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ (ขั้นตอนที่ 5) ให้สำนักงาน ก.ก. เรียบร้อยแล้ว รวมถึงรายงานให้ผู้อำนวยการเขตรับทราบ โดยเรื่องร้องเรียนขยะคงค้างหลังจากที่นำนวัตกรรมไปใช้มีจำนวนลดลง โดยเดือน มี.ค. 64 มีจำนวน 8 เรื่อง เดือนเม.ย. มีจำนวน 9 เรื่อง และเดือน พ.ค. 64 มีจำนวน 4 เรื่อง โดยในเดือน มิ.ย.64 - ส.ค.64 มีเรื่องร้องเรียนจำนวน 24 เรื่อง (สถานการณ์โควิด) แต่ปริมาณการร้องเรียนลดลงจากช่วงเวลาเดียวกันของปีที่แล้ว ซึ่งเฉลี่ยเดือนละ 10 เรื่อง
โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด
-
(1) กิจกรรมความสำเร็จในการเสนอนวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน (องค์ประกอบ 4)
แล้วเสร็จ (100.00% ) เป็นไปตามแผน : เป็นไปตามเป้าหมาย
: 21/09/2564 :
1. ขั้นตอน/กระบวนการ ก่อนการปรับปรุง/พัฒนา ว่าเป็นอย่างไร
- ประชาชนไม่ทราบเวลาเข้าดำเนินการที่แน่นอนของรถที่เข้าดำเนินการจัดเก็บภายในพื้นที่ของตน จึงทำ
ให้เกิดความเข้าใจคลาดเคลื่อนในการจัดการขยะก่อนนำออกมาทิ้ง
- ประชาชนเข้ามาติดต่อเหตุร้องเรียนด้วยตนเองหรือโทรเข้ามาแจ้งเหตุที่ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ เพื่อ
แจ้งเหตุ, นัดแนะวัน-เวลาเพื่อให้เจ้าหน้าที่เข้าดำเนินการจัดเก็บ อาจทำให้เกิดความล่าช้าในการ
ดำเนินการ
2. ขั้นตอน/กระบวนการ หลังการปรับปรุง/พัฒนา รวมถึงอธิบายวิธีการนำไปปฏิบัติ ว่ามีกระบวนการหรือ
ขั้นตอนอย่างไร
- จัดเจ้าหน้าที่นำแจกประกาศประชาสัมพันธ์มี QR Code เส้นทางการเดินรถและวัน เวลาเก็บขนมูลฝอย
ของแต่ละถนน, ตรอก, ซอย ในพื้นที่เขตวังทองหลางให้กับผู้รับบริการ, นิติบุคคล, ผู้นำชุมชน, หมู่บ้าน
เพื่อแจ้งให้ผู้ที่ต้องการทราบอย่างทั่วถึง
3. มีกลุ่มผู้ใช้บริการ (ประชาชน /ผู้รับบริการ) เข้ามาเกี่ยวข้องในแต่ละขั้นตอนใดบ้าง อย่างไร
- ประชาชน/ผู้รับบริการ จะเข้ามาเกี่ยวข้องในขั้นตอนสุดท้ายเนื่องจากเป็นผู้รับบริการโดยตรง โดย
ประชาชนที่สนใจจะสามารถสแกน QR Code เพื่อตรวจสอบเส้นทางเดินรถเก็บขน วันและเวลาที่แน่นอน
ในการเข้าดำเนินการจัดเก็บขยะภายในพื้นที่ตนเองได้โดยตรง ทำให้สามารถบริหารจัดการขยะภายใน
ครัวเรือนของตนเองและนำมาทิ้งเพื่อให้เจ้าหน้าที่จัดเก็บได้อย่างถูกต้อง, ตรงเวลา และลดปัญหาขยะ
ตกค้างได้อีกทางหนึ่ง
4. ตัวชี้วัดที่วัดความสำเร็จของโครงการมีอะไรบ้าง ผลผลิตและผลลัพธ์ที่ได้จากการดำเนินโครงการคืออะไร
- มี QR Code เส้นทางการให้บริการเก็บขนมูลฝอย สำนักงานเขตวังทองหลาง โดยมีการกำหนดวัน เวลาที่
แน่นอนในการทิ้งขยะไว้ใน QR Code ด้วย จำนวน 4 QR Code (แยกตามแขวง)
- แจกประกาศประชาสัมพันธ์ให้กับผู้รับบริการ, นิติบุคคล, ผู้นำชุมชน, หมู่บ้าน ภายในพื้นที่เขต
วังทองหลาง จำนวน 1,300 แผ่น จากเป้า 1500 แผ่น (ข้อมูล ณ เดือน สิงหาคม 2564)
5. ประโยชน์ที่ประชาชน/ผู้รับบริการได้รับจากโครงการ มีอะไรบ้าง
- ประชาชน/ผู้รับบริการ ที่ต้องการทราบข้อมูลจะสามารถสแกน QR Code เส้นทางการเดินรถ และวัน
เวลาเก็บขนมูลฝอยของแต่ละถนน, ตรอก, ซอย ที่จะเข้าให้บริการในพื้นที่เขตวังทองหลาง
- ลดข้อร้องเรียนและลดความเข้าใจที่ผิดพลาดในการเข้าดำเนินการเก็บขนมูลฝอย และป้องกันการลักลอบ
ทิ้งขยะไม่ตรงเวลาหรือขยะตกค้างได้
-
Print